วันพฤหัสบดีที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2553

นิทานธรรมะ น่ารู้ ค้นจากเว็บต่างๆ

นิทานธรรมะ น่ารู้ ค้นจาก......
ลิงค์ รายละเอียด
http://www.kalyanamitra.org
รวมนิทานชาดก หรือนิทานธรรมะ นิทานภาษาอังกฤษ คลิปนิทาน การ์ตูนสุภาษิต
http://www.dhammathai.org/dhammastory/index.php
นิทานชาดก นิทานธรรมะบันเทิง
http://audio.palungjit.com/f23/
นิทานธรรม จาก พระอาจารย์อาจารย์สมรัก ญาณธีโร
http://www.fungdham.com/fable-local.html
นิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก นิยาย คลิปวิดีโอ ฝึกสติ
http://www.mindcyber.com/content/?action=cat&catid=6
นิทาน เรื่องสั้น เรื่องของคุณธรรม คติสอนใจ ที่บรรพชนได้ทำไว้เป็นแบบอย่างเล่าขานสืบต่อมา
http://www.buddhadasa.com/index_tale.html
นิทานธรรมะ นิทานเซ็น นิทานเรื่องสั้น
http://entertain.tidtam.com/data/12/0207-1.html
นิทานธรรมะ 184 เรื่อง
http://www.whitemedia.org/wma/content/category/3/3/15/
นิทานธรรมะสอนใจ มากมาย ทั้งนิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก นิทานภาษาอังกฤษ
http://www.phrasomrak.com/index.php?option=com_content&view=article&id
นิทานธรรมะจาก พระอาจารย์สมรัก ญาณธีโร
http://www.tamdee.net/main/thread.php?fid-20.html
รวมนิทานธรรมะหรรษา
http://www.dhammathai.org/chadoknt/chadoknt.php
นิทานบันเทิงธรรม นิทานชาดก ในรูปแบบออดิโอซีดี

แหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์

แหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

ลิงค์ รายละเอียด
http://www.school.net.th/library/snet2/ เว็ปไซต์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ทุกแขนง ตั้งแต่ความเป็นมาของคณิตศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ของโลก การประยุกต์คณิตศาสตร์ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เกม สรุปสูตร ฯลฯ
http://www.kanid.com/ เว็ปไซต์ที่ทำให้คุณอยากเรียนคณิตศาสตร์ รวมสื่อการสอนคณิตศาสตร์ สื่อมัลติมิเดีย สื่อประยุกต์โครงงาน เกมคณิต วัดไอคิว ฯลฯ
http://www.ipst.ac.th/smath/web_math/web_math1.
Html เว็ปไซต์คณิตศาสตร์มัธยมศึกษาของ สสวท. มีทั้งแผนการสอน สื่อการสอน หลักสูตรคณิตศาสตร์ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ฯลฯ
http://www.thai-mathpaper.net/ ศูนย์รวมข้อสอบคณิตศาสตร์ หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ออนไลน์ แบบทดสอบคณิตยอดนิยม ฯลฯ
http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&category=4
เว็ปไซต์ของสหวิชาดอทคอมฝ่ายคณิตศาสตร์ รวบรวมบทความ ความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
http://www.math.pinionteam.net/ รวมโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ บทความ โปรแกรมคณิตศาสตร์ ลับสมอง ปัญหาเชาว์ ฯลฯ
http://www.math.or.th/ เว็ปไซต์สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ประกาศสอบคณิตศาสตร์ อบรมครูคณิตศาสตร์ ค่ายคณิต ฯลฯ
http://www.ripn-math.com/ ศูนย์พัฒนาสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
http://www3.ipst.ac.th/primary_math/ict_material/mini_lo.asp เว็ปไซต์คณิตศาสตร์ประถมศึกษาของ สสวท. มีทั้งแผนการสอน สื่อการสอน หลักสูตรคณิตศาสตร์ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ฯลฯ
http://www.mc41.com/ เว็ปไซต์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ที่น่าสนใจ รวบรวมทุกสิ่งทุกอย่างเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ทั้งครูและนักเรียนสามารถศึกษาได้

แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต หัวข้อที่ศึกษา การสร้างหนังสืออีเล็กทรอนิกส์ (e – Book)

แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
หัวข้อที่ศึกษา การสร้างหนังสืออีเล็กทรอนิกส์ (e – Book)
ลำดับ Link รายละเอียด
1 http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_ebook/171/7.pdf
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ e-Book
2 http://www.thaigoodview.com/node/186
ความเป็นมาเกี่ยวกับ e-Book
3 http://www.lms.cmru.ac.th/how_to_read.htm
การใช้งาน e-Book
4 http://www.horhook.com/wbi/dta/index.html
บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้าง e-Book
ด้วย DeskTop Author
5 http://www.oknation.net/blog/freeday888/2009/09/08/entry-1
การสร้าง e-Book ด้วยโปรแกรม FlipAlbum
6 http://bu.lpc.rmutl.ac.th/naravit/e-book/
คู่มือเบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้งาน
DeskTop Author
7 http://nustyle.multiply.com/journal/item/7
เว็บบล็อกการสร้าง e-Book
ด้วยโปรแกรม Desktop Author
8 http://learn.wattano.ac.th/learn/ln2/courses/5/E-book.htm
การออกแบบ e-Book
ด้วยโปรแกรม Desktop Author
9 http://www.horhook.com/content/index.htm
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ลักษณะมัลติมีเดีย
10 http://61.91.205.171/flip_e_book/flip_publisher1.htm
การสร้าง E-book ด้วยโปรแกรม
Flip Publisher
11 http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/frontend/theme_1/index.php
แนะนำหนังสือ e-Book ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
12 http://www.stks.or.th/elearning/index.php?mod=Courses&op=showcontent&cid=5&qid=&lid=29&sid=&page=&uid=
เทคนิคการสร้าง e-Book ด้วยวิธีที่ง่าย
และรวดเร็ว

แหล่งข้อมูลความรู้อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือ

แหล่งข้อมูลความรู้อิเล็กทรอนิกส์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือ นางสาวธีรดา สมพะมิตร รหัส 538989007
ที่ ลิงค์/แหล่งข้อมูล รายละเอียด
1. http://kawshevit.blogspot.com/2008/01/blog-post_14.html
- รวมบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ การดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น
ภาคเหนือ ประวัติและวิธีการทำโคมลอย
2. http://www.prachatai.com/column-archives/node/2693
- รวมบทความเกี่ยวกับเครื่องมือหาปลาพื้นบ้านภาคเหนือ
เช่น มองปลาบึก แซะ สะเบ็ง ไซหัวหมู นาม กวัก
จ๋ำ (สะดุ้ง) หิง (สวิง)
3. http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/others/wilaiporn/__58.html - รวมบทความเกี่ยวกับเครื่องจักสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่นของ
ภาคเหนือ
4. http://www.nidtep.go.th/quality/index.php?name=news
- แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาษาล้านนา หรือคำเมือง
ประวัติศาสตร์ล้านนา อักษรล้านนา ประวัติความเป็นมา
ของธงสากล หรือ ตุง ของชาวล้านนา
5. http://library.cmu.ac.th/ntic/lannafood/
- อาหารพื้นบ้านล้านนา เช่น แกง - น้ำพริก - ตำ/ยำ - ขนม
อาหารว่าง
6. http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=3638.0 - ของเล่นพื้นบ้านของภาคเหนือ

7. http://www.prapayneethai.com/th/amusement/north/ - การละเล่นพื้นบ้านของภาคเหนือ

8.

http://www.prapayneethai.com/th/tradition/north/ - แหล่งรวบรวมข้อมูลด้านประเพณี วัฒนธรรม พิธีกรรม
ความเชื่อ
ที่ ลิงค์/แหล่งข้อมูล รายละเอียด
9. http://www.thaigoodview.com/node/48381
- การแสดง พื้นเมือง ภาคเหนือ
10. http://www.tourthai.com/directory/?c=99
- แหล่งรวบรวมสินค้า O – TOP ของภาคเหนือ
11. http://www.openbase.in.th/taxonomy/term/1188?page=47
- ภูมิปัญญาด้านการจัดการ เรื่อง น้ำบ่อ ฮ่องหล่อ ผัดตาศีล
การแต่งงานแบบพื้นเมือง

12. http://iam.hunsa.com/laongdao/article/26236 - สุภาษิตล้านนา

13.
http://thrai.sci.ku.ac.th/node/1898
- สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา
14. http://www.sri.cmu.ac.th/~maeyinglanna/main10/main.php - การแต่งกายของแม่ญิงล้านนา

แหล่งข้อมูลความรู้ออนไลน์ เกี่ยวกับกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ และ ดาราศาสตร์

แหล่งข้อมูลความรู้ออนไลน์
เกี่ยวกับกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ และ ดาราศาสตร์
ลำดับที่ ลิ้งค์ / แหล่งข้อมูล รายละเอียด
1. http://www.darasart.com/
• รวมเรื่องราวของดาราศาสตร์สำหรับคนไทย คุณจะได้พบกับ ข่าวสาร,บทความ , ความรู้ ประวัติเรื่องราวเกี่ยวกับ ดาว ความเป็นไปในเอกภพ ...
• ฝนดาวตกเจมินิต
• หอดูดาวสิรินธร ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีทั้งข้อมูลของหอดูดาว และห้องสนทนาเว็ปบอร์ด. Darasart Kid เว็บไซด์แนะนำความรู้ด้านดาราศาสตร์สำหรับเด็กๆ …
• กำเนิดของดวงอาทิตย์
2. http://thaiastro.nectec.or.th/
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • บริษัท โกรวิ่งพอยท์ โอเอ แอนด์ เน็ทเวิร์ค จำกัด. สมาคมดาราศาสตร์ไทย .พบกับความรู้ เรื่องราว ข่าวสาร เกี่ยวกับ
• ระวังข่าวลือเรื่องดาวอังคาร
• หมวดโลกแตก 2012
• ปรากฏการณ์ท้องฟ้า
• แพน-สตาร์สค้นพบดาวเคราะห์น้อยอันตราย



3. http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/astronomy.shtml
• พบกับเรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร์ที่น่าสนใจ การดูดาวกับกูเกิล บทความ งานวิจัย ทางวิทยาศาสตร์
• รวมข้อสอบ สอวน วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
• พบกับเรื่องราวดาราศาสตร์มหัศจรรย์ กลับสู่หน้าแรกของโฮมเพจฟิสิกส์ราชมงคล. ครั้ง ที่. เซ็นสมุดเยี่ยม. ดาราศาสตร์มหัศจรรย์.
4. http://www.doodaw.com/
• รวบรวม บทความ ข่าวสาร และสิ่งที่น่าสนใจ ในศาสตร์ความลี้ลับของดวงดาว จักรวาล เรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร์.
• รายชื่อเวปวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
• โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์


5. http://www.rmutphysics.com/charud/astronomy/index.htm
• ดาราศาสตร์ในประเทศไทย • หอดูดาวแห่งแรกของประเทศไทย • พระบิดาแห่งดาราศาสตร์ไทย • เวลามาตรฐานของไทย • ปฏิทินอันแรกของโลก • แผนที่ดาวเก่าแก่ที่สุด ...
• เรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร์ หลุมดำ
6. http://sunflowercosmos.org/astronomy/astronomy_main/astronomy_main.html
• การรวมตัว กลุ่มฝุ่นหมอกควันของก๊าซ ที่แพร่กระจาย คือมวลสสาร (Matter) หากมีความ หนาแน่นและขนาดใหญ่เพียงพอ.
• ดาราศาสตร์ดึกดำบรรพ์ ถือกำเนิดขึ้น ด้วยความแตกต่าง ความเชื่อของศาสนาและวัฒนธรรม.
• พลังงานจักรวาล กาแลกซี่
7. http://www.lesa.in.th/
http://www.kruku.net/archives/category
• โครงการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ โลก อวกาศ
• ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ (LESA) จะจัดกิจกรรมฝนดาวตก GEMINIDS 2010 ณ หอดูดาวเกิดแก้ว อำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี .
• โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ กล้องโทรทรรศน์(Telescope)

8.
http://www.space.mict.go.th/astronomer.php
http://etcommission.go.th/Space/astronomer.php?name=copernicus
• นักดาราศาสตร์เอกของโลก
9. http://student.sut.ac.th/astronomyclub/
http://www.airandspaceclub.com/forum/index.php?action=printpage;topic=624.0 • ชุมนุมนักดาราศาสตร์รุ่นเยาว์ เว็บดาราศาสตร์เพื่อคนไทย ...
• โปรแกรมดูดาว
• ธารน้ำแข็งบนดาวอังคาร
10. http://www.absorn.ac.th/webmul.htm
• เว็บมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ. โดย:นายทองคำ วิ รัตน์ โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ สพท.กทม.เขต 3. Online:www.absorn.ac.th ...
11. http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/4-5/no31-39/darasart.html

• เรื่องราวของดาราศาสตร์ – วิกิพีเดีย
• ความหลากหลายเชิงกายภาพของดวงจันทร์ ความหลากหลายเชิงกายภาพของดาวเคราะห์ คริสต์ศาสนากับวิชาดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์ในศตวรรษหน้า ...
• ดาราศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดาวิทยาศาสตร์ทั้งหลายมันเป็นการ ศึกษาดาวเคราะห์ ในเชิงวิทยาศาสตร์ ...
• ดาวเทียมสำรวจ
12. http://guru.google.co.th/guru/label?lid=63f4c5fcc2f05533
• เรื่องราวของความเชื่อ ดวงดาวกับราศี
13. http://www.science.cmu.ac.th/observatory/obv_bkup/Olympic.htm
• เรื่องราวเกี่ยวกับดาราศาสตร์โอลิมปิก
• ค่ายโอลิมปิกดาราศาสตร์ระดับ ม.ต้น ม.ปลาย
• โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
• ทางช้างเผือก

แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย

ลิงค์ รายละเอียด
http://www.bbl4kid.org/ รวมบทความ กิจกรรม สื่อสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย
http://www.plawan.com/game/index.php
เป็นแหล่งเกมส์สนุกๆสำหรับเด็กปฐมวัยที่สอดแทรกความรู้ไว้เต็มเปี่ยม
http;//www childthai.org/ เป็นข่าวการเคลื่อนไหวจากสถานที่ต่างๆและยังมีโปรแกรมวาดภาพพร้อมสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับลูก
http://www.bkkchildrenmuseum.com/
เป็น เว็บที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของเด็กในแต่ละด้าน
http://www.tataya.com/
เป็นเว็ปที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเด็ก มีเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับเด็กที่น่าสนใจ มีบทความต่างๆ เกี่ยวกับเด็ก
http://www.Thaiparents.com
เป็นเว็ปที่เกี่ยวกับการให้ความรู้ในการดูแลบุตร อายุตั้งแต่ แรกเกิด ถึง 12 ปี มีการถามตอบปัญหาที่เกิดกับเด็ก อีกทั้งมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการเลี้ยงดูบุตร
http://www.dekdek.com/entertaint.htm
ประกอบ ด้วยห้องนิทาน ห้องเกมส์ ห้องสาระน่ารู้กับหนูดำ บทความเด็กและครอบครัว ถ้าเพื่อนๆสนใจที่จะนำไปเป็นศึกษาก็สามารถทำได้เพราะมีประโยชน์มากสำหรับ เด็กปฐมวัย
http://www.tumbletots.co.th/tumbletots.asp
ประกอบไปด้วยโปรแกรมของทัมเบิ้ลทอทส์ 3 ช่วงอายุ ประโยชน์ของแต่ละโปรแกรมที่เหมาะสมกับช่วงอายุเด็ก
http://www.anamai.moph.go.th/env/cbb/nitan/ffan/ffan.htm
เป็นเว็บเกี่ยวกับนิทานของกองทัตสาธารณสุขกรมอานามัย เพื่อนๆ สนใจเข้ามาชมและนำไปสอนเด็ก ๆ ที่โรงเรียน
http://www.curistory.com/us/card/music.asp?code=m
เพลงเด็กน่ารักๆ กลอนเพราะๆ
http://www.dofordek.com/script/fangnitan/fangnitan.php
นิทานสำหับเด็ก
http://www.enchantedlearning.com/Rhymes.html
หัดระบายสีหน้าจอ
http://www.greettv.dusit.ac.th/page/11/ รวมหลากหลายเรื่องราว นานา สาระ เกี่ยวกับปฐมวัย เช่น สื่อการเรียนรู้ kid variety

แหล่งเรียนรู้ สื่อวิทยาศาสตร์

แหล่งเรียนรู้ สื่อวิทยาศาสตร์

ที่ ลิงค์ รายละเอียด
1 http://www.caistudio.info/ เป็นหน้าเวปสื่อประกอบการเรียนการสอน CAI ทุกกลุ่มสาระสามารถดาวโหลดมาใช้สอนในชั้นเรียนได้
2 http://www.stkc.go.th/cd_download/ เป็นเวปสื่อที่เป็น CD เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ สามารถดาวโหลดมาใช้สอนในชั้นเรียนได้ทุกระดับชั้น
3 http://www.edu.cmu.ac.th/~science/InstrMedia.html เป็นเวปสื่อการสอนประเภทกิจกรรมการทดลองทุกระดับชั้นของสวท
4 http://www.youtube.com/view_play_list?p=575B58727CBC7CD6 เป็นเวปสื่อการสอนที่เป็นวีดีโอสามารถเปิดให้นักเรียนศึกษาหรือดูเพื่อความเพลิดเพลินและให้คติสอนใจ
5 http://www.kruaung.com/index.php เป็นข้อสอบระรับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา
ชุดการสอน
บทเรียนสำเร็จรูป
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
6 http://www.goosiam.com/games/viewallgame.asp เกมส์สื่อวิทยาศาสตร์
7 http://gotoknow.org/blog/wilaiaun/ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้กระดาษอัฉริยะ
8 http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/index.htm แผ่นใสวิชาฟิสิกส์
9 http://teacherkobwit2010.wordpress.com/ การสอนวิทย์แบบ Inquiry
วิทยาศาสตร์ ม.1
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ม.ปลาย
10 http://kunkrupreeda.exteen.com/ การเปลี่ยนแปลงของโลก
11 http://learners.in.th/blog/tasana/260088 สื่อการสอนวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย

แหล่งเรียนรู้ ภาพการ์ตูน

แหล่งเรียนรู้ ภาพการ์ตูน
ลิงค์ รายละเอียด
1. http://dookdik.kapook.com/ เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนน่ารัก
2. http://atcloud.com/stories/40617 เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนเกี่ยวกับอาหาร
3. http://sakid.com/2007/10/12/7084/ เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนเกี่ยวกับดอกไม้ธรรมชาติ
4. http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=kungguenter& month=21-05-2009&group=32&gblog=12 เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนเกี่ยวกับตัวอักษร
5. http://atcloud.com/discussions/45779 เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนเกี่ยวกับสัตว์น่ารักๆ
6. http://www.coverdd.com/animation/ เป็นแหล่งรวมห้องภาพ
7. http://www.jengsud.com/emo/ เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนที่แสดงอารมณ์
8. http://www.nightsiam.com/forum/index.php?topic=851.0 เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนวันเกิด
9. http://flash-mini.com/hi5code/emotion_hi5msn.php เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนสัญลักษณ์ MSN
10. http://ecard.kapook.com/category.php?category_id=47 เป็นแหล่งรวมภาพการ์ตูนภาพเคลื่อนไหว

สถาบันกวดวิชานักเรียน

สถาบันกวดวิชานักเรียน
ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.tutor-2bee.com/ โรงเรียนสอนศิลปะ หน้าเว็บมีตารางเรียน ที่อยู่ของติวเตอร์
2.http://www.dek-d.com/ เด็กดี มีเว็บบอร์ด เกี่ยวการศึกษา ดูดวง มุมนิยาย
3.http://www.peetewnong.com/home/ พี่ติวน้อง หน้าเว็บมีหน้าข่าวสาร แนะนำการสมัครเรียน หลักสูตรและบริการ
4.http://www.iqpluscenter.com/ ติวเตอร์ผู้นำด้านการสอนพิเศษ มีหน้าต่างรายละเอียด บทความน่ารู้ แนะนำการเรียนพิเศษ อัตราค่าเรียน การสมัครเรียน
5.http://www.sonnong.com/ เว็บสอนน้อง การเรียนตัวต่อตัวผ่านอินเตอร์เน็ต ตั้งแต่ระดับ ป.1 – มหาวิทยาลัย
6.http://www.chulatutorathome.com/ จุฬาติวเตอร์ เว็บเกี่ยวกับเรียนพิเศษ ตั้งแต่อนุบาลถึงระดับมหาวิทยาลัย มีแนวการสอน วิชาที่รับสอน อัตราค่าเรียนพิเศษ
7.http://www.koe-physics.com/ เคมีเซ็นเตอร์ หน้าเว็บจะมีการอัพเดทข่าวสารการศึกษา วิธีการสมัครเรียนพิเศษ รับสอนตั้งแต่ประถมศึกษาถึงมหาวิทยาลัย
8.http://www.thetutor.in.th/portal/home/ เดอะติวเตอร์ มีแนะนำระเบียบการ ข้อมูลข่าวสาร อาจารย์ที่สอน สาขาที่เปิด
9. http://www.thebrain.co.th/ เดอะเบรน หน้าเว็บมีระเบียบการ แนะนำการเรียน มีติวก่อนสอบ
10. http://www.appliedphysics.ac.th/ แอพพลายด์ฟิสิกส์ กิจกรรมสถานบัน ข่าวประชาสัมพันธ์ ตารางเรียน สาขาที่เปิด มีวิธีการสมัครเรียน
11. http://www.chem-ou.com/ เคมี อ.อุ๊ นำแนะเว็บ มีวีธีการสมัครเรียน ข่าวประกาศรับสมัครเรียน
12. http://www.davance.com/ ดา วองค์ หน้าเว็บมีหลักสูตรการเรียน ตารางเรียน แนะนำการเรียน

สถาบันกวดวิชานักเรียน

สถาบันกวดวิชานักเรียน
ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.tutor-2bee.com/ โรงเรียนสอนศิลปะ หน้าเว็บมีตารางเรียน ที่อยู่ของติวเตอร์
2.http://www.dek-d.com/ เด็กดี มีเว็บบอร์ด เกี่ยวการศึกษา ดูดวง มุมนิยาย
3.http://www.peetewnong.com/home/ พี่ติวน้อง หน้าเว็บมีหน้าข่าวสาร แนะนำการสมัครเรียน หลักสูตรและบริการ
4.http://www.iqpluscenter.com/ ติวเตอร์ผู้นำด้านการสอนพิเศษ มีหน้าต่างรายละเอียด บทความน่ารู้ แนะนำการเรียนพิเศษ อัตราค่าเรียน การสมัครเรียน
5.http://www.sonnong.com/ เว็บสอนน้อง การเรียนตัวต่อตัวผ่านอินเตอร์เน็ต ตั้งแต่ระดับ ป.1 – มหาวิทยาลัย
6.http://www.chulatutorathome.com/ จุฬาติวเตอร์ เว็บเกี่ยวกับเรียนพิเศษ ตั้งแต่อนุบาลถึงระดับมหาวิทยาลัย มีแนวการสอน วิชาที่รับสอน อัตราค่าเรียนพิเศษ
7.http://www.koe-physics.com/ เคมีเซ็นเตอร์ หน้าเว็บจะมีการอัพเดทข่าวสารการศึกษา วิธีการสมัครเรียนพิเศษ รับสอนตั้งแต่ประถมศึกษาถึงมหาวิทยาลัย
8.http://www.thetutor.in.th/portal/home/ เดอะติวเตอร์ มีแนะนำระเบียบการ ข้อมูลข่าวสาร อาจารย์ที่สอน สาขาที่เปิด
9. http://www.thebrain.co.th/ เดอะเบรน หน้าเว็บมีระเบียบการ แนะนำการเรียน มีติวก่อนสอบ
10. http://www.appliedphysics.ac.th/ แอพพลายด์ฟิสิกส์ กิจกรรมสถานบัน ข่าวประชาสัมพันธ์ ตารางเรียน สาขาที่เปิด มีวิธีการสมัครเรียน
11. http://www.chem-ou.com/ เคมี อ.อุ๊ นำแนะเว็บ มีวีธีการสมัครเรียน ข่าวประกาศรับสมัครเรียน
12. http://www.davance.com/ ดา วองค์ หน้าเว็บมีหลักสูตรการเรียน ตารางเรียน แนะนำการเรียน

เว็ปลิงค์เกี่ยวกับกีฬา

กีฬา...คือยาวิเศษ เว็ปลิงค์เกี่ยวกับกีฬา
ลิงค์ รายละเอียด
http://www3.sat.or.th/organization/allow.asp ข้อมูลองค์กรกีฬา การขออนุญาตจัดตั้งสมาคม กำหนดการประชุม การจัดการแข่งขันและการจัดการส่งนักกีฬา ประกาศชนิดกีฬา การจัดสรรเงินอุดหนุน งบประมาณการเตรียมและส่งนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขัน ผังโครงสร้างองค์กรกีฬา
http://www.fat.or.th/web/national.php ประวัติสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย สภากรรมการบริหารสมคม ปฏิทินกิจกรรมของสมาคม ปฎิทินการแข่งขันฟุตบอลของสมาคม
ข้อมูลนักฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุต่างๆ
http://www.kat.or.th/public/aboutus.html สโมสรกาบัดดี้แห่งประเทศไทย ประวัติความเป็นมา ข่าวสารประชาสัมพันธ์และกิจกรรม กติกาการเล่น ทำเนียบ ประมวลภาพ
http://www.thaicycling.or.th/?cid=348259 ประวัติสโมสรจักรยานแห่งประเทศไทย ปฏิทินการแข่งขัน การขออนุญาตจัดการแข่งขัน กฎกติกาการแข่งขัน สาระน่ารู้เกี่ยวกับสมาคม
http://www.takraw.or.th/th/ คณะกรรมการบริหารสมาคมตะกร้อ ประวัติสมาคมตะกร้อ กฎกติกาการแข่งขัน ประวัติกีฬาตะกร้อ เทปการแข่งขัน
http://www.thaitva.or.th/html/association/
1association.html ทำเนียบผู้ฝึกสอน กฎกติกาการแข่งขัน ประวัติกีฬาวอลเลย์บอล สถาบันการสอนกีฬาวอลเลย์บอล ประวัติสมาคม คณะกรรมการบริหาร สโมสรสมาชิก นักกีฬาทีมชาติไทย กรรมการผู้ตัดสิน
http://www.aat.or.th/ ข่าวสารสมาคมกรีฑา ผลการแข่งขัน กติกาการแข่งขัน สถิติการแข่งขัน รายชื่อผู้ฝึกสอน
http://www.taekwondothai.com/history.php ประวัติความเป็นมาของกีฬาเทควันโด ประวัติความเป็นมาของสมาคมเทควันโด ข่าวสารสมาคม โปรแกรมการแข่งขัน ผู้บริหาร ข้อมูลนักกีฬา ผลการแข่งขัน ภาพการแข่งขัน
http://www.tasa.in.th/pro/history.php ประวัติสมาคมว่ายน้ำ ปฏิทินข่าว กีฬาว่ายน้ำ กีฬาโปโลน้ำ กีฬากระโดดน้ำ ระบำใต้น้ำ ผู้ตัดสิน สมัครสมาชิก รายชื่อสมาชิก

เว็บที่เกี่ยวกับสุขภาพกายและสุขภาพจิต

เว็บที่เกี่ยวกับสุขภาพกายและสุขภาพจิต
ลิงค์ รายละเอียด
1. http://www.moac.go.th/builder/moac_health/wl_main.php เคล็ดลับสุขภาพ วิธีการดูแลผิวพรรณต่างๆ เส้นผม เครื่องสำอางต่างๆ กินอย่างไรให้สุขภาพดี
2. http://www.clinicrak.com/ โฮมเพจคลินิกรัก ดอท คอม เป็นโฮมเพจอิสระ ไม่สังกัดโทรทัศน์ช่องใด หรือหนังสือเล่มใด จัดทำขึ้นเพื่อให้ท่านได้ศึกษา หาความรู้ จากบทความต่างๆ หรือจะปรับทุกข์ ถามปัญหา โดย post ข้อความตามห้องต่างๆ ด้วยหวังว่าสถาบันครอบครัวของเราจะแข็งแกร่งขึ้นมาบ้าง
3. http://www.thaioptometry.net/ สาขาวิชาทัศนมาตรศาสตร์ (Optometry) เป็นหลักสูตรปริญญาสำหรับผู้ประกอบโรคศิลปะให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการ ประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 จัดเป็นหลักสูตรแรกและหลักสูตรเดียวของประเทศไทยที่เน้นการตรวจและวินิจฉัย ปัญหาทางด้านสายตาและสุขภาพตาอย่างครบถ้วน
4. http://www.thainhf.org/index.php มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ เป็นเว็บที่ให้ความรู้ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิต ให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสุขภาพต่างๆ
5. http://www.doctordek.com/index.php





เป็นเว็บไชค์มูลนิธิเด็กโรคหัวใจ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่ให้ความช่วยเหลือ มีการบริจาคเงินสนับสนุนกิจกรรมการผ่าตัดโรคหัวใจเด็กให้กับมูลนิธิ เป็นภาพกิจกรรมการออกหน่วย ตารางการออกหน่วยของมูลนิธิ
6. ttp://www.siamhealth.net/ เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่นโรคหวัด โรคมะเร็ง อาหารสำหรับคนป่วยของโรคต่างๆ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง การกินกาแฟต่างๆ เป็นต้น

ลิงค์ รายละเอียด
7. http://www.thaiclinic.com/ เป็นการตอบปัญหาด้านสุขภาพของคณะแพทย์ศาสตร์ที่ตอบปัญหาของผู้ป่วยที่ป่วยในด้าน อายุรกรรม สูตินรีเวชกรรมและกุมารเวชกรรม หู ตา คอ จมูก และทันตกรรม
8.http://elib.fda.moph.go.th/library/ บริการสืบค้นรายการหนังสือ,วารสาร, CD-Rom และบทความผ่านระบบอินเทอร์เน็ต กฎหมายเกี่ยวกับอาหารและยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2552 อ.ย เตือนภัยในด้านต่างๆ

9.http://dopah.anamai.moph.go.th/ เว็บไซต์เพื่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของกองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพกับการออกกำลังกาย เทคนิคการออกกำลังกาย งานวิจัยที่เกี่ยวกับการออกกำลังกายที่ทำให้สุขภาพดี
10. http://www.thaicraniofacial.com/ รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ศูนย์สมเด็จพระเทพรัตนฯ หรือชื่อเดิม ศูนย์แก้ไขความพิการบนใบหน้า และกะโหลกศีรษะฯ เป็นศูนย์กลางการรักษาความพิการบนใบหน้าและกะโหลกศีรษะที่ใหญ่ที่สุดในเอ เซียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยไม่แสวงหาผลกำไร และรักษาผู้ป่วยโดยไม่เลือกชนชั้น วรรณะ เชื้อชาติ ซึ่งเป็นไปตามหลักการสากลของสภากาชาด
11. http://www.orthochula.com/ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับทางด้านกระดูกและข้อ ของ รศ.นพ.อารี ตนาวลี ของคณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12.http://www.siamhealthy.net/ สุขภาพ, อาหารเพื่อสุขภาพ, สมุนไพร, แพทย์ทางเลือก, นวด, อโรมาเธอราปีส์
13.http://www.yourhealthyguide.com/ รวบรวมสาระน่ารู้ น่าสนใจ และเว็บไซต์เกี่ยวกับสุขภาพ อาทิเช่น ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ
14.http://www.siamgreenfarm.com/ จัดจำหน่าย ผักปลอดสารพิษ คุณค่าทางโภชนาการสูง ด้วยระบบการปลูกแบบ ผักไฮโดรโปรนิกส์ ทั้งปลีกและส่ง หรือ รับปลูกตามออร์เดอร์ ไม่ใช้สารเคมีฆ่าแมลง ใดๆ จึงปลอดภัยต่อการบริโภค เราปลูกผักไทยเช่น ผักคะน้า (Chinese Kale) ผักบุ้ง (Morning Glory) ผักกวางตุ้ง

แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนอินเตอร์เน็ต เรื่องประวัติศาสตร์ไทย

แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนอินเตอร์เน็ตที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย
ลำดับ ลิงค์ รายละเอียด
1. http://history.startth.com/
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย กษัตริย์ของไทย กำเนิดชาติไทย ความหมายของ ประวัติชาติไทย ประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยา ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์
2. http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/history/hist1.htm
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย ซึ่งมีการแบ่งออกเป็นอาณาจักรต่างๆ เช่น อาณาจักรน่านเจ้า แคว้นโยนกเชียงแสน อาณาจักรเพงาย เป็นต้น
3. http://www.bandhit.com/History/History.html
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ที่กล่าวถึงการทำสงครามของกษัตริย์และนักรบผู้ยอมเสียสละชีวิตในก่อน เช่น สงครามช้างเผือก สงครามยุทธหัตถี ศึกบางระจัน
4. http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=polball&month=18-12-2009&group=17&gblog=12
เกี่ยวกับความเป็นมาของประวัติศาสตร์ไทย และชนชาติไทย
5. http://www.baanjomyut.com/library/thai_history.html
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย และบุคคลสำคัญของชาติไทยตั้งแต่สมัยอดีตถึงปัจจุบัน
6. http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-5/no17/main/pravattisad.html
ข้อคำถามและคำตอบเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย
7. http://www.kwc.ac.th/1Part1.htm
เกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไทย
8. http://www.photikhun.org/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=6&Id=539118421
ข้อมูลและหลักฐานประวัติศาสตร์ไทยในรูปแบบของวิดีโอคลิป
9. http://www.m-culture.go.th/detail_page.php?sub_id=522
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยในส่วนของถิ่นฐานเดิมและแหล่งกำเนิดชนชาติไทย
10. http://www.kroobannok.com/1698
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา และกรุงธนบุรี
11. http://www.iseehistory.com/thai
การนำประวัติศาสตร์ชาติไทยมาจัดทำเป็นภาพยนตร์ เช่น ตำนานสมเด็จ
พระนเรศวรมหาราช
12. http://www.bp-smakom.org/BP_School/Social/kung-ten-buri.htm
เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในสมัยกรุงธนบุรี ยุคสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

สื่อและวิธีการสอนภาษาไทย

ลำดับที่ ลิงค์ รายละเอียด
1 http://www.kanoksri.com/PowerPoint%20Web/index.htm สื่อการเรียนรู้ CAI ภาษาไทย
คำในมาตราตัวสะกด
คำควบกล้ำ
อักษรนำ
2 http://www.kbyala.ac.th/web-thai/media-tep.htm เอกสารแนะนำการผลิตสื่อวิชาภาษาไทย อาทิเช่น หมีน้อยวรรคตอน, นาฬิกาคู่สัมผัส
บิงโก..ราชาศัพท์, ตลกลำดับเรื่อง,
O-X คำเป็นคำตาย ฯลฯ
3 http://www.school.net.th/library/createweb/10000/language/10000-11919.html วิธีสอนแบบอินเทอร์เน็ตภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
4 www.sahavicha.com/ เพลง แม่ ก. กา สื่อภาษาไทย เพลง เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เด็ก ๆ ชอบ และช่วยให้เด็กจำเนื้อหาที่เรียนได้ดี
5 www.sema.go.th/view/latest/thai สื่อภาษาไทยล่าสุด. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา • การพัฒนาแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
6 www.sema.go.th/view/thai สื่อภาษาไทยยอดนิยม. สำนวน สุภาษิต หลักการอ่าน การเขียนรายงาน • กาพย์ •
การพัฒนาแบบฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย .
7 http://www.kroobannok.com/34626 สื่อภาษาไทย โดยใช้เทคนิค 5E
8 http://www.vcharkarn.com/vteacher/4 เทคนิคการสอนภาษาไทย โดย อนงค์ เชื้อนนท์
9 http://www.dekgeng.com/thai/korkai.html e-learning วิชาภาไทย แบบฝึกเขียน ก. ไก่
10 http://30wutani3.multiply.com/journal/item/4 เทคนิคการสอนภาษาไทยที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

พืชผักสมุนไพร

พืชผักสมุนไพร
ลิงค์ รายละเอียด
1.http://www.samunpri.com/modules.php?name=Vegetable
ผักสมุนไพร นอกจากจะมีคุณค่าทางด้านอาหารแล้ว ยังมีคุณค่าทางกระตุ้นพลังเสริมสร้างสุขภาพ และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ปัจจุบันชีวิตคนกรุงเทพ ต้องประสบกับมลพิษหลายอย่าง เช่น อาหารเป็นพิษ และสภาวะแวดล้อมเป็นพิษ ในช่วงฤดูฝนนี้ ควรที่จะรับประทานอาหารให้พลังแข็งแรง เพื่อต่อต้านโรคภัยไข้เจ็บ
2.http://www.samunpri.com/modules.php?name=News&file=article&sid=55
ประโยชน์ใกล้ตัว พืชผักสวนครัวใกล้บ้าน
________________________________________
ที่จริงแล้วผักสวนครัวทั้งหลายไม่ว่าจะเป็น โหระพา ขิง ข่า ตะไคร้ หรือใบสระแหน่ ก็ล้วนแต่มีประโยชน์ทั้งนั้น โดยเฉพาะสรรพคุณทางยาของความเป็นสมุนไพรไทยที่ใครได้ยินแล้วจะต้องบอกว่า สุดยอด เสมอ ว่าแล้ววันนี้ก็เลยอยากให้คุณๆ ได้รู้จักกับประโยชน์ของพืชผักสวนครัวเหล่านี้กัน
สมัยเด็กมักจะโดนคุณแม่ใช้ให้ไปเก็บพืชผักสวนครัวหลังบ้านบ่อยๆ บ้านหลังเล็กๆ ของเรามีพื้นที่เหลือเฟือสำหรับปลูกผักสวนครัวไว้ปรุงอาหารกินเอง แต่หลังจากย้ายตัวเองมาฝังตัวอยู่ที่เมืองหลวง ก็ได้มีพืชผักสวนครัวส่วนตัวไว้กินอีกเลย

3.http://www.doae.go.th/library/html/detail/menuveg.htm
ปลูกพืชสมุนไพรกันแมลง ให้ปลูกที่ขอบแปลงก่อน เช่น กุ๋ยฉ่าย คื่นฉ่าย และระหว่างแปลงก็ทำการปลูกกระเพรา โหระพา พริกต่างๆ เพื่อป้องกันแมลงก่อนที่จะทำการปลูกพืชผัก พอครบกำหนด 7 วัน พรวนดินอีกครั้งแล้วนำเมล็ดพันธุ์พืชมาหว่านแต่เมล็ดพันธุ์พืชส่วนใหญ่เป็นเมล็ดพันธุ์ที่คลุกสารเคมีจึงต้องนำเอาเมล็ดพันธุ์ผักมาล้าง โดยการนำน้ำที่มีความร้อน (50-55 C ) วัดได้ด้วยความรู้สึกของตัวเราเองคือเอานิ้วมือจุ่มลงไปถ้าทนความร้อนได้ก็ให้นำเมล็ดพันธุ์พืชแช่ลงไป นาน 30 นาที แล้วจึงนำขึ้นมาคลุกกับกากสะเดา หรือ สะเดาผงแล้วนำไปหว่านลงแปลงที่เตรียมไว้คลุมฟางและรดน้ำ

4.http://www.eto.ku.ac.th/neweto/e-book/veg_herb.html
พันธุขิง
พันธุขิงพอจําแนกออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ
1. ขิงใหญหรือขิงหยวก
2. ขิงเล็กหรือขิงเผ็ด

5. http://www.homedd.com/HomeddWeb/servlet/homedd.A_garden.frontweb.FwVegetMain

ชะพลู Cha-plu ผักพื้นบ้านไทย ที่รูปใบเป็นทรงหัวใจ เส้นใบแยกจากโคนใบเห็นเส้นใบชัดเจน ใบสีเขียวเข้ม รสชาติเผ็ดเล็กน้อย เป็นไม้เลื้อยปลูกง่าย ชอบที่ชื้นแฉะ เนื่องจากชะพลูมีสารออกซาเลต(oxalate) ที่หากทานมากๆจะสะสมเป็นนิ่วในไตได้ แต่ถ้าทานใบชะพลูร่วมกับโปรตีน เช่นเนื้อหมู ไก่ แล้วก็ไม่เป็นปัญหา


ลิงค์ รายละเอียด
6. http://www.wiparatfood.com/ โหระพา (ผักสมุนไพร) เป็นพืชที่มีกลิ่นหอม ช่วยปรุงแต่งกลิ่นรสของอาหารให้น่ารับประทานยิ่งขึ้น ใบและยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด และช่วยดับกลิ่นคาวของอาหาร เช่น แกงเลียง แกงเผ็ด ผัดต่างๆ เช่น ผัดหอย น้ำมันโหระพาใช้แต่งกลิ่นซอสมะเขือเทศ ขนมผิง ลูกอม ผักดอง ไส้กรอก และ เครื่องดื่มต่างๆ

7.http://www.tungsong.com/samunpai/Garden/index.html
ผักสวนครัวรั้วกินได้ การปลูกพืชผักสมุนไพร สำหรับใช้ในครัวเรือน นอกจากจะปลูกในสวน ในแปลง ในกระถาง หรือในภาชนะปลูกอื่น ๆ แล้ว พืชผักสมุนไพรหลายชนิดเราสามารถนำมาปลูกเป็นรั้วบ้านได้ ซึ่งนอกจากจะทำหน้าที่เป็นรั้ว คือ เครื่องล้อมกั้นเป็นเขตของบ้านที่มีความสวยงามดูแปลกตา แตกต่างไปจากรั้วบ้านชนิดอื่น ๆ แล้ว รั้วสมุนไพรยังให้ใบ ให้หน่อ ให้ผล ให้ดอก ให้เรานำไปเป็นอาหารและยารักษาโรคได้อีกด้วย

8.http://www.ezythaicooking.com/ingredients_1_th.html
การทำอาหารไทยให้อร่อย ต้องเริ่มต้นด้วยความพิถีพิถันในการเลือกซื้อ เครื่องปรุงที่สดใหม่ จัดเก็บเพื่อรอนำไปประกอบอาหารด้วยวิธีที่ถูกต้อง วัตถุดิบในส่วนของพืชผัก และสมุนไพรที่ใช้ในการทำอาหารไทยมีหลายประเภท อาหารไทยเป็นที่นิยมของคนทั่วโลกว่าเป็นอาหารเพื่อสุขภาพเพราะสรรพคุณทางยาของผักและสมุนไพรที่ใช้ในการปรุงอาหารเหล่านี้นั่นเอง
9. http://www.chs.ac.th/new/weerawan/plant.html
ในปัจจุบันการปลูกพืชผักสมุนไพรนอกจากจะปลูกเป็นสวนเพื่อจำหน่ายแล้ว ยังนิยมนำมาปลูกเป็นพืชผักสวนครัวอีกด้วย เช่น กะเพรา โหระพา อัญชัน เดือย บัวบก ผักบุ้งไทย พริกขี้หนู มะเขือเทศ มะนาว ฟักทอง มะกรูด มะขาม มะเขือพวง แค ชะพลู ขิง ข่า ตะไคร้ ตำลึง ถั่วแดง ส้มเขียวหวาน กล้วย มะม่วง ฝรั่ง มังคุด ขนุน มะละกอ ชมพู่ เป็นต้น

10. http://www.jabchai.com/main/view_joke.php?id=2165
ตำลึง--- สรรพคุณ เป็นยาดับพิษร้อนภายในร่างกาย ลดอาการไข้ เป็นยาระบายอ่อนๆ ผลดิบนำมาปรุงเป็นอาหารช่วยลดอาการเบาหวาน ใบสดๆ นำมาขยี้ให้ละเอียดเอาน้ำมาทาแก้อาการคัน ช่วยถอนพิษจากหนอนกัด และพิษจากหมามุ่ย ใช้หยอดตาแก้อาการตาแดง ตาเจ็บ

แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ Internet เรื่อง โคมลอย

แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้บนเครือข่าย Internet ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เรื่อง โคมลอย
Link รายละเอียด
1.http://www.moohin.com/trips/chiangrai/komloy/
โคมลอยของฝากจากเชียงราย
2.http://khomloypasang.uuuq.com/khomloy.html
ประวัติความเป็นมาของโคมลอย
3.http://www.igetweb.com/www/kwankaokhomloy/index.php?mo=3&art=391511
ความรู้เกี่ยวกับโคมลอย
4.http://www.thaibizcenter.com/knowledgecenter.asp?kid=2427
ที่มาโคมลอย ทำไมต้องลอยโคม
5.http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=379aa6998f5c3a2f
เทศกาลลอยกระทง โคมลอยทำไมต้องลอยโคม
6.http://www.qoolive.com/show_blog/1671/us/hongyoke/t/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2
วิธีการทำโคมลอย
7.http://www.khomloycm.com/manual.php
วิธีการเล่นโคมลอย
8.http://www.shopsinka.com/89/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A2.html
โคมลอยขายตรง
9.http://www.khomloycm.com/
โคมลอยขายส่ง โดยตรงจากผู้ผลิต
10.http://www.thaimtb.com/cgi-bin/viewkatoo.pl?id=38753
ความเห็นเกี่ยวกับโคมลอยในกิจกรรมต่างๆ

แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์จาก WWW. เรื่อง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

แหล่งการเรียนรู้ออนไลน์จาก WWW. ที่จะเป็นประโยชน์
ในการเรียนวิชา CI6601เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาหลักสูตรและการสอน
เรื่อง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
โดย..นางสาวนววรรณ เพชรี่ 538989010
ลำดับที่ ลิงค์ รายละเอียด
1 http://www.bcoms.net/news/index.asp แหล่งรวมข่าวสารเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีใหม่ๆ ทดสอบความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แนะนำร้านซ่อมคอมพิวเตอร์

2 http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00009 ความรู้ทั่วไปและประเภทเกี่ยวกับฮาร์แวร์ และซอร์ฟแวร์

3 http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/nittaya_c/meaow2/page04_2.htm ความสำคัญสารสนเทศ วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และการใช้คอมพิวเตอร์สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนต

4 http://www.siit.tu.ac.th/thai/it.html การศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศ แนวโน้มการทำงาน และศึกษาต่อรวมทั้งความแตกต่างระหว่างสารสนเทศกับวิทยาการคอมพิวเตอร์
5 http://www.thaismeplus.com แหล่งบริการซื้อขายคอมพิวเตอร์หลากหลายแบบ หลายรุ่นและอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆที่ใช้กับคอมพิวเตอร์
6 http://www.ez-admin.com/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=60&Itemid=455 ศูนย์อบรมระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์กครบวงจรมีหลักสูตรฝึกอบรมหลากหลาย อาทิ เช่น
• หลักสูตร Hacking & Security
• หลักสูตร Linux Server Administrator
• หลักสูตร Network Administrator

7 http://www.itexcite.com/ ร่วมกันเสนอความคิดเห็นในการสร้างสังคมไอที ข่าวเด่นประจำวัน “ตามรอยคอมพิวเตอร์ส่วนพระองค์เครื่องแรก”
8 http://www.thaiitstory.com/ บทความ การแลกเปลี่ยนข่าวสารวงการเทคโนโลยีสารสนเทศคอมพิวเตอร์
9 http://www.ict.mbu.ac.th/th/index.php?option=com_content&task=view&id=90&Itemid=41 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในรายวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
10 http://www.nectec.or.th/ ศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สาระน่ารู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โครงการรับรองคุณภาพคอมพิวเตอร์ รวมทั้งสถาบันอบรมทางด้านคอมพิวเอตร์มากมาย

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับชุดการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์
เกี่ยวกับชุดการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ลิงค์ รายละเอียด
http://www.thaigoodview.com/node/60523
รายงานการพัฒนาชุดการสอน เรื่องน้ำและอากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
http://www.vcharkarn.com/vcafe/163559
การศึกษาผลการพัฒนาชุดการเรียน การสอน เรื่อง พลังงานแสง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองขาม
http://www.thaigoodview.com/node/86112
การสร้างชุดการสอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่องความสำคัญและประโยชน์ของดวงอาทิตย์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
http://www.surinarea1.go.th/isresearch/science_group.html การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง ชีวิตพืชและสัตว์ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2
http://www.kruthacheen.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538665694
การพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่องบรรยากาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=8769&bcat_id=16
รายงานผลการใช้ชุดการสอน เรื่อง ร่างกายของเรา อาหารและสารเสพติด เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
http://gotoknow.org/blog/ntscince
การใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่องวัตถุรอบตัว
http://www.vcharkarn.com/vcafe/163559
การศึกษาผลการพัฒนาชุดการเรียนการสอน
เรื่องพลังงานแสงกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:5OPNMLWPJNgJ:www.scribd.com/doc/29270145 ชุดการสอน เรื่อง หัวใจและระบบหมุนเวียนเลือด
http://gotoknow.org/blog/taunjai/237751
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์

http://www.krooit.com/webboard/index.php?topic=1253.0 การพัฒนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์:เรื่องทฤษฎีการเรียนรู้

แหล่งข้อมูลการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์
ทฤษฎีการเรียนรู้

ที่ ลิงค์ รายละเอียด
1 http://th.wikipedia.org/wiki/ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ (learning theory) การเรียนรู้คือกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี

2 http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86 ฤษฎีการเรียนรู้
»ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐาน
»ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม
»กลุ่มความรู้ (Cognitive)

3 http://www.suphet.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=110814&Ntype=2 หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้

4 http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning.htm ทฤษฎีการเรียนรู้จาก การเก็บข้อมูล (Retention Theory)
5 http://www.kroobannok.com/1549 ทฤษฎีการเรียนรู้ Constructivism
6 http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm แนวความคิดในเรื่องของการเรียนรู้ของมนุษย์ ได้รับความสนใจอย่างมากจากนักปรัชญาและนักจิตวิทยามาแต่ในอดีต
7 http://puvadon.multiply.com/journal/item/5 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Learning Theory : Behaviorism)
8 http://socialscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=15154 การเรียนรู้ ( Learning )
9 http://www.tciap.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538781189 ทฤษฎีการเรียนรู้ (learning theory)

10 http://www.inspect11.moe.go.th/index.php/component/content/article/54-2009-11-28-01-55-54/128-2010-02-23-07-40-15 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มีผลต่อ
แนวทางการออกแบบการเรียนการสอนและการประเมินผล
11 http://pirun.ku.ac.th/~g4886063/learningT.htm ทฤษฎีการเรียนรู้
12 http://www.tumcivil.com/engfanatic/board/gen.php?topic_id=13741&hit=1 2.1 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการเรียนรู้

สื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เรื่องสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ที่ ลิงค์ รายละเอียด
1 http://www.karn.tv/tale.html Karn TV Education media for kids บรรจุเรื่องสาระน่ารู้ เพลง นิทาน ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เหมาะสำหรับเด็กอนุบาล และประถมต้น
2 http://student.sut.ac.th/anurukclub/show_question.php?qs_qno=933 E-Book ส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา (ดาว์นโหลดฟรี)หนังสือส่งเสริมการอ่านประเภท E-Book วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ประกอบด้วย 10 ชุด มีเนื้อเรื่องชวนอ่านสนุกสนานตั้งแต่ระดับง่ายๆ จนขั้นสูง
3 http://www.thaigoodview.com/node/41746 เป็นเว็บเกี่ยวกับการอ่านภาษาอังกฤษ การอ่านจับใจความ ประโยค เรื่องสั้น การฝึกใช้ภาษาอังกฤษ
4 http://www.zone-it.com/forum/index.php?action=login Zone-it เป็นWeb ของการอ่านการ์ตูนภาษาอังกฤษ
5 http://www.thaigoodview.com/node/532 เว็บ thaigoodview เป็นแหล่งรวามของคลังข้อสอบภาษาอังกฤษ และรายวิชาอื่นด้วย ให้ครุและนักเรียนได้ศึกษาและฝึกทำ
6 http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/view.php?id=512889 หนังสือ สื่อ VDO Software Textbook ต่างๆ หรือ จะเป็น Audio ภาษาอังกฤษ โหลดกัน ฟรีรวมไปถึงยังมีหนังสือ ดีๆ พวกนิทานภาษาอังกฤษ หรือวนิยายภาษาอังกฤษ ไว้ไปอ่านกัน
7 http://www.chulaonline.com/ เรียนฟรี Online วันละบท
ChulaOnline.com จัดโครงการเรียน ภาษาอังกฤษพื้นฐานระดับปริญญาตรีฟรี โดยจะสับเปลี่ยนบทเรียนนำเสนออย่างต่อเนื่องทุกวัน
8 http://newpoon.wordpress.com/ มีสื่อการสอน เรื่องเล่า เรื่องสั้นภาษาอังกฤษ
9 http://www.vmodtech.com/webboard/index.php?topic=11411.msg133415;topicseen CD/VCD/DVD สื่อการสอนภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย - ประถมศึกษา จากผู้ผลิตสื่อการ สอนสำหรับเด็กชั้นนำระดับโลก เช่น BBC, Cambridge, Oxford
10 http://www.eldc.go.th/eldc3/page/webboard/view_topic.jsp?topic_id=572 ศสษ. ศุนย์พัฒนาความสามารถสำหรับเด็ก สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองฟรี แหล่งข้อมูล สื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ดาวน์โหลดฟรี มีวีดีโอ MP3 ซอฟท์แวร์ หนัง soundtrack พร้อม subtitle

วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Moodle

ปฏิบัติการ Moodle
Moodle มาจาก Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment
คือ ระบบจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์ให้มีบรรยากาศเหมือน เรียนในห้องเรียน หรือเรียกว่าLMS (Learning Management S ystem) หรือระบบจัดคอร์สการเรียนการสอน CMS(Course Management System ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต สำหรับสถาบันการศึกษา หรือครู ใช้เพื่อเตรียมแหล่งข้อมูล กิจกรรม และเผยแพร่แบบออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต
Moodle สามารถนำไปใช้ได้ ทั้งองค์กรระดับ มหาวิทยาลัย โรงเรียน สถาบัน หรือครูสอนพิเศษ โปรแกรมชุดนี้เป็น Open Source ภายใต้ข้อตกลงของ gnu.org (General Public License) สามารถ download ได้ฟรีจาก http://moodle.org ผู้พัฒนาโปรแกรมคือ Martin Dougiamas สถาบันการศึกษาใดต้องการนำไปใช้ จัดระบบการเรียนการสอน จะต้องอาศัยผู้ดูแลระบบ( Admin) ที่ความสามารถในการติดตั้ง โดยที่ต้องมี Web Server ที่บริการภาษา php และ mysql
ความสามารถของ moodle
1. เป็นโปรแกรมจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประเภทฟรีแวร์ ที่ได้รับการยอมรับกันทั่วโลก
2. สามารถเป็นได้ทั้ง CMS (Course Management System) และ LMS (Learning Management System) ช่วยรวบรวมวิชาเป็นหมวดหมู่ เผยแพร่เนื้อหา ของผู้สอน พร้อมบริการให้นักเรียนเข้ามาศึกษา และบันทึกกิจกรรมของนักเรียน
3. สามารถสร้างแหล่งข้อมูลใหม่ หรือเผยแพร่เอกสารที่ทำไว้ เช่น Microsoft Office, Web Page, PDF หรือ Image เป็นต้น ใจกว้าง ไม่หวงวิชา มีเอกสารที่เคยรวบรวมไว้ ก็ส่งเข้าไปเผยแพร่ได้โดยง่าย
4. มีระบบติดต่อสื่อสาร ระหว่างนักเรียน เพื่อนร่วมชั้น และผู้สอน เช่น chat หรือ webboard เป็นต้น นักเรียนฝากคำถาม ครูทิ้งคำถามไว้ ครูนัดสนทนาแบบออนไลน์ ครูนัดสอนเสริม หรือแจกเอกสารให้อ่านก่อน เข้าเรียน ก็ได้
5. มีระบบแบบทดสอบ รับการบ้าน และกิจกรรม ที่รองรับระบบ ให้คะแนนที่หลากหลาย ให้ส่งงาน ให้ทำแบบฝึกหัด ตรวจให้คะแนนแล้ว export ไป excel
6. สำรองข้อมูลเป็น . zip แฟ้มเดียว ในอนาคตสามารถนำไปกู้คืน ลงไปในเครื่องใดก็ได้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใช้ Moodle
องค์ประกอบของ moodle (สำหรับโรงเรียน)
1. มี Web Browser เช่น Internet explorer ในการติดต่อกับ moodle ทั้งโดยครูผู้สอนและนักเรียน
2. มี Web Server ที่ให้บริการ php และ mysql
3. มี ผู้ติดตั้ง ผู้ดูแล และบำรุงรักษา ควรทำโดยนักคอมพิวเตอร์ ที่ที่มีประสบการณ์ เกี่ยวกับการติดตั้ง การบำรุงรักษา และการเขียนเว็บ
4. มี ครู นักเรียน และผู้บริหาร ที่ยอมรับในเทคโนโลยีสมัยใหม่ ดังนั้น moodle ไม่เหมาะกับเด็กอนุบาล หรือครูที่ไม่มีไฟ
5. มี การเชื่อมต่อเป็นระบบเครือข่าย เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ( LAN)
บุคคลหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับ Moodle
1. ผู้ดูแลระบบ (Admin) : ติดตั้งระบบ บำรุงรักษา กำหนดค่าเริ่มต้น และกำหนด สิทธ์การเป็นครูผู้สอน
2. ผู้สอน ( Teacher) : เพิ่มแหล่งข้อมูล เพิ่มกิจกรรม ให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และติดต่อสื่อสาร
3. ผู้เรียน ( Student) : เข้าศึกษาแหล่งข้อมูล และทำกิจกรรม ตามแผนการสอน
4. ผู้เยี่ยมชม ( Guest) : เข้าเรียนได้เฉพาะวิชาที่อนุญาต และจำกัดสิทธ์ ในการทำกิจกรรม
แหล่งข้อมูล หรือกิจกรรม ของ Moodle
1. SCORM ( แหล่งข้อมูล ที่รวม Content จากภายนอก ที่เป็นมาตรฐาน)
2. Wiki ( สารานุกรม ที่ยอมให้ผู้เรียนเข้ามาแก้ไข)
3. อภิธานศัพท์ ( Glossary : รวมคำศัพท์ จัดหมวดหมู่ สามารถสืบค้นได้)
4. ห้องสนทนา ( Chat : ห้องที่สามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู และนักเรียน)
5. กระดานเสวนา ( Forum : กระดานให้ครู และนักเรียนเข้ามาฝากความคิดเห็น)
6. การบ้าน ( Assignment : ที่นักเรียนพิมพ์งานแล้วนำมา
7. ห้องปฏิบัติการ ( Workshop : ที่นักเรียนทำงาน แล้วส่ง ซึ่งประเมินได้หลายแบบ)
8. ป้ายประกาศ ( Label : แสดงข้อความ เพื่อประกาศให้ทราบ)
9. แบบทดสอบ ( Quiz : สร้างคลังข้อสอบ แล้วเลือกมาให้ทำบางส่วน ระบบสามารถ ทำอัตโนมัติ)
10. โพลล์ ( Poll : แสดงความคิดเห็นตามตัวเลือก)
11. แหล่งข้อมูล ( Resources : text, html, upload, weblink, webpage, program)
กิจกรรมของครูผู้สอน
1. สมัครสมาชิกด้วยตนเอง และรอผู้ดูแล อนุมัติ ให้เป็นผู้สอน หรือผู้สร้างคอร์ส
2. ผู้สอนสร้างและกำหนดลักษณะของรูปแบบบทเรียนด้วยตนเอง
3. เพิ่ม เอกสาร บทเรียน และลำดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสม
4. ประกาศข่าวสาร หรือนัดสนทนา กับนักเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต
5. สามารถสำรองข้อมูลในวิชา เก็บเป็นแฟ้มเพียงแฟ้มเดียวได้
6. สามารถกู้คืนข้อมูลที่เคยสำรองไว้ หรือนำไปใช้ในเครื่องอื่น
7. สามารถดาวน์โหลดคะแนนนักเรียนที่ถูกบันทึกจากการทำกิจกรรม ไปใช้ใน Excel
8. กำหนดกลุ่มนักเรียน เพื่อสะดวกในการจัดการนักเรียนจำนวนมาก
9. สั่งยกเลิกการเป็นสมาชิกในวิชา ของนักเรียนที่มีความประพฤติ ไม่เหมาะสม หรือเข้าผิดวิชา
10. ตรวจสอบกิจกรรมของนักเรียนแต่ละคน เช่น ความถี่ในการอ่าน แต่ละบท หรือคะแนนในการสอบแต่ละบท
11. เพิ่มรายการนัดหมาย หรือกิจกรรม แสดงด้วยปฏิทิน
12. สร้างเนื้อหาใน SCORM หรือสร้างข้อสอบแบบ GIFT แล้วนำเข้าได้
กิจกรรมของผู้เรียน
1. สมัครสมาชิกด้วยตัวนักเรียนเอง
2. รออนุมัติการเป็นสมาชิก และสมัครเข้าเรียนแต่ละวิชาด้วยตนเอง
3. อ่านเอกสาร หรือบทเรียน ที่ผู้สอนกำหนดให้เข้าไปศึกษา ตามช่วงเวลาที่เหมาะสม
4. ฝากคำถาม หรือข้อคิดเห็น หรือนัดสนทนาระหว่างเพื่อน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
5. ทำกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น ทำแบบฝึกหัด หรือส่งการบ้าน แก้ไขข้อมูล ส่วนตัวของตนเองได้ อ่านประวัติของครู เพื่อนนักเรียนในชั้น หรือในกลุ่ม
6. ดูผลการทำกิจกรรมต่างๆ
แหล่งที่มา http://banlat.ac.th/web/home/computer/cai/cai/moodle.htm

วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553

7.เครือข่ายทางสังคม Social Network

เครือข่ายทางสังคม Social Network

การจำแนกประเภทของ Social Network ไม่สามารถจัดได้อย่างชัดเจน อาจแบ่งตาม
หมวดหมู่ตามที่เราพบเห็นทั่วไป อาจแบ่งได้ 7 ประเภท ดังนี้

1. ประเภทแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (data/knowledge) ที่เห็นได้ชัดเจน เช่น wikipedia, googleearth, answers, digg, bittorrent ฯลฯ เป็นต้น
2. ประเภทเกมส์ออนไลน์ (online games) ที่นิยมมาก เช่น SecondLife, Audition, Ragnarok,Pangya ฯลฯ เป็นต้น
3. ประเภทสร้างเครือข่ายทางสังคม (community) เพื่อเป็นการหาเพื่อนใหม่ สร้างและ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน เช่น Hi5, Facebook, MySpace, MyFriend ฯลฯ เป็นต้น
4. ประเภทฝากภาพ (photo management) สามารถฝากภาพออนไลน์ได้โดยไม่เปลืองฮาร์ดดิสก์ส่วนตัว อีกทั้งยังสามารถแชร์ภาพหรือซื้อขายภาพกันได้อย่างง่ายดาย เช่น Flickr, Photoshop Express,Photobucket ฯลฯ เป็นต้น
5. ประเภทสื่อ (media) ไม่ว่าจะเป็นฝาก โพสท์ หรือแบ่งปันภาพ คลิปวีดีโอ ภาพยนตร์ เพลงฯลฯ เช่น YouTube, imeem, Bebo, Yahoo Video, Ustream.tv ฯลฯ เป็นต้น
6. ประเภทซื้อ-ขาย (business/commerce) เป็นการทำธุรกิจทางออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมาก เช่น Amazon, eBay, Tarad, Pramool ฯลฯ แต่เว็บไซต์ประเภทนี้ยังไม่ถือว่าเป็น Social Network ที่แท้จริงเนื่องจากมิได้เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการแชร์ข้อมูลกันได้หลากหลาย นอกจากการสั่งซื้อและคอมเมนท์สินค้าเป็นส่วนใหญ่
7. ประเภทอื่น ๆ คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการคอนเทนท์ซึ่งไม่สามารถจัดเข้าใน 1-6 ประเภทได้

ุ6.บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
วิวัฒนาการและ ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
- ปี ค.ศ. 1950 ศูนย์วิจัยของ IBM ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยงาน ด้านจิตวิทยา นับเป็นจุดเริ่มต้นของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
- ปี ค.ศ. 1958 มหาวิทยาลัยฟลอริดา สหรัฐอเมริกา พัฒนา คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ช่วยทบทวนวิชาฟิสิกส์ และสถิติ พร้อมๆ กับมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ได้นำคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
- ปี ค.ศ. 1960 มหาวิทยาลัยอิลินอย จัดทำ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ด้านจิตวิทยาการศึกษา และวิศวกรรมศาสตร์ ภายใต้ชื่อ PLATA CAI - Programmed Learning for Automated Teaching Operations CAI
- ปี ค.ศ. 1970 มีการนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาใช้ในทวีปยุโรป โดยฝรั่งเศษ และอังกฤษ เป็นผู้เริ่มต้น
-ปี ค.ศ. 1671 มหาวิทยาลัย Taxas และ Brigcam Young ร่วมกันพัฒนา คอมพิวเตอร์ช่วยสอน กับมินิคอมพิวเตอร์ โดยผสมผสานคอมพิวเตอร์กับโทรทัศน์ ช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ ภายใต้โครงการ TICCIT - Time-shared Interactive Computer Controlled Information Television
-ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้น เพราะความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีต่าง ๆ อันได้แก่ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย เทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารข้อมูล ทำให้สามารถผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและทำการเผยแพร่บทเรียนได้อย่าง ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งแนวโน้มในอนาคตต่อไปอันใกล้นี้ เราอาจพบเห็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนำเสนอผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มากขึ้น ซึ่งเราเรียกว่า CAI on Web
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการสอน การทบทวน การทำแบบฝึกหัด หรือการประเมินผล นักเรียนแต่ละคนจะได้นั่งอยู่หน้าเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ หรือ เทอร์มินัลต่อกับเมนเฟรม เรียนโปรแกรมสำเร็จรูปที่ได้จัดเตรียมไว้เป็นพิเศษสำหรับการสอนวิชานั้นๆ ขึ้นมาบนจอภาพ โดยปกติภาพจะแสดงเรื่องราวเป็นคำอธิบายเนื้อหาบทเรียน หรือเป็นการแสดงรูปภาพ ซึ่งผู้เรียนจะต้องอ่านดู แต่ละคนจะใช้เวลาทำความเข้าใจไม่เท่ากัน รอจนคิดว่าพร้อมแล้วก็จะสั่งคอมพิวเตอร์ว่าต้องการทำต่อ คอมพิวเตอร์อาจทำต่อหรืออาจทบทวนความรู้ด้วยการป้อนคำถาม แบบฝึกหัดหรืออาจจะสั่งให้ไปอ่านใหม่ เป็นต้น หลังจากนั้นจะแจ้งผลให้ทราบทันทีว่าทำถูกกี่ข้อ ผิดกี่ข้อ จำเป็นหรือไม่ที่เราจะไปศึกษาบทนั้นใหม่หรืออาจจะศึกษาใหม่ต่อไป
ลักษณะที่สำคัญบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Insturction) คือ
1. เป็นบทเรียนสำเร็จรูปที่สร้างขึ้นในลักษณะซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package Software) นำไปสอนเนื้อหาใหม่ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
2. ในการเรียนการสอนบทเรียนหรือนำเสนอบทเรียน ผู้เรียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้ตามระดับความสามารถของตนเอง ในบทเรียน
3. มีแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
4. มีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะหลายสื่อ (Multimedia) ได้แก่ ประเภทข้อความ (Text) รูปภาพ (Image) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) ภาพวิดีโอ (Video) เสียง (Audio) โดยที่ผู้เรียนจะมีโอกาสได้ปฏิสัมพันธ์ (Interactive) กับบทเรียนโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ตลอดเวลา
องค์ประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
- เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว
- ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคำตอบ
- ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน
- ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไป
ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
1. สอนเนื้อหารายละเอียด (Tutorials)
2. การฝึกทักษะ (Drill and Practice)
3. การจำลองสถานการณ์ (Simulations)
4. เกมการสอน (Instructional games)
5. การสาธิต (Demonstration)
6. การแก้ปัญหา (Problem - Solving)
7. การทดสอบ (Tests)
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
1. ช่วยให้ผู้เรียนที่เรียนอ่อน สามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนในการฝึกฝนทักษะ และเพิ่มเติมความรู้ เพื่อปรับปรุงการเรียนของตน
2. ผู้เรียนสามารถนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ในการเรียนด้วยตนเองในเวลา และสถานที่ที่สะดวก
3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะจูงใจผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น สนุกสนานไปกับการเรียน
ข้อดีของระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน
1.ทำให้ผู้เรียนเรียนได้ในอัตราความเร็วของตนเอง
2.ผู้เรียนจะเรียนที่ ไหนเมื่อใดก็ได้ ด้วยความก้าวหน้าของระบบการสื่อสารทำให้ผู้เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อ ถ่ายทอดความรู้กับผู้อื่น
3.ผู้เรียนสามารถเรียนได้จากสื่อประสม (Multi media) จากระบบคอมพิวเตอร์
4.ผู้เรียนสามารถทราบผลการเรียนของตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมรวดเร็วกว่าสื่ออื่น ๆ

5.มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง:หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง:หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ความหมายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์( E-Book ) มี 3 ลักษณะดังนี้
1. ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของซอฟท์แวร์
หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์หมายถึงหนังสือเล่มที่ถูกดัดแปลงให้อยู่ในรูป อิเล็กทรอนิกส์ผู้อ่านสามารถอ่านข้อมูลได้จากจอคอมพิวเตอร์ มีลักษณะข่าวสารเป็นแบบพลวัต หากต้องการปรับปรุงข้อมูลก็สามารถทำได้โดยดึงข้อมูล (Download) มาจากอินเตอร์เน็ต หรือซีดีรอม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีความสามารถในการทำไฮเปอร์เท็กซ์, คนหาข้อความ , ทำหมายเหตุประกอบ และการทำสัญลักษณ์ใจความสำคัญ
2. ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของฮาร์ดแวร์ ได้มีผู้ให้คำนิยามไว้ดังต่อไปนี้
“TechEncyclopedia” (1999 : 1) กล่าว กันว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นอุปกรณ์ฉบับกระเป๋าซึ่งสามารถแสดงข้อมูลที่อยู่ใน รูปอิเล็กทรอนิกส์ได้ สามารถจัดทำสำเนาได้ ทำบุ๊คมาร์คและทำหมายเหตุประกอบได้ “Electronic Book – Webopedia Definition” (1999 : 1)ได้กล่าวถึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในฐานะที่เป็นฮาร์ดแวร์ไว้ในทำนองเดียว กับ TechEncyclopedia โดยได้แบ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออกเป็น 2 รูปแบบคือ
รูปแบบที่ 1 คือ ร็อคเก็ตอีบุ๊ค (Rocket Ebook )ของ นูโวมีเดีย เป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฉบับกระเป๋า พกพาสะดวกด้วยน้ำหนักเพียง 22 ออนซ์ เก็บข้อมูลได้ถึง 4,000 หน้ากระดาษ การเปิดพลิกหน้าร็อกเก็ตอีบุ๊คให้ความรู้สึกใกล้เคียงกับการเปิดหนังสือจริง สามารถทำแถบสว่าง (Highlight) , ทำหมายเหตุประกอบ , ค้นหาคำ และสร้างบุ๊คมาร์คได้ หากต้องการปรับปรุงข้อมูลก็สามารถติดต่อไปยังร้านหนังสือหรือเครือข่าย อินเตอร์เน็ต
รูปแบบที่ 2 คือ ซอฟท์บุ๊ค (Softbook) ของซอฟท์บุ๊คเพรส มีลักษณะคล้ายกับ ร็อคเก็ตบุ๊ค มีความจุตั้งแต่ 1,500 ไปจนถึง 1 ล้านหน้ากระดาษ
3. ความหมายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นทั้งซอฟท์แวร์และฮาร์ดแวร์ ได้มีผู้ให้ ความหมายดังนี้
“What is an E-Book (1999 : 1) ได้ให้ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นหนังสือทั้งที่มีและไม่มีตัวจริง โดยมีรูปแบบการอ่าน 3 แนว คือ ดึงข้อมูลออกมาและพิมพ์โดยผู้ใช้งาน,อ่านโดยตรงจากจอคอมพิวเตอร์ และใช้อ่านโดยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์อื่นได้แก่ ไลเบรียสมิลลิเนียมอีบุ๊ครีดเดอร์ (Librius Millennium Ebook Reader) , ร็อคเก็ตบุ๊คเป็นต้น
สรุปได้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การนำหนังสือหนึ่งเล่มหรือหลายๆ เล่ม มาออกแบบใหม่ให้อยู่ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์ โดยปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่รูปของตัวอักษร, ภาพนิ่ง , ภาพเคลื่อนไหว ,เสียง , ลักษณะที่ตอบโต้กันได้ (interactive) และการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ สามารถทำบุ๊คมาร์กและหมายเหตุประกอบตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ โดยอาศัยพื้นฐานของหนังสือเล่มเป็นหลัก
ลักษณะของอีบุ๊ค หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
อีบุ๊คจะเป็นไฟล์คอมพิวเตอร์ประเภท หนึ่ง ในยุคแรกๆ จะเป็นไฟล์แบบ PDF โดย เนื้อหาในไฟล์จะมีลักษณะเหมือนหนังสือจริงๆ ซึ่งจะใช้ในกระบวนการทำเพลท ยิงฟิล์ม ด้วยความที่มีลักษณะเหมือนหนังสือจริงๆ แต่เป็นไฟล์คอมพิวเตอร์ ต้องเปิดอ่านจากหน้าจอ คอมพิวเตอร์ จึงเป็นที่มาของ eBook? อี บุ๊คในปัจจุบันมีหลายแบบ ตามแต่จุดประสงค์ในการใช้งาน เมื่ออีบุ๊คเป็นไฟล์เอกสารประเภทหนึ่ง จึงสะดวกในการพกพา จำหน่าย จ่ายแจก สามารถรับส่ง ดาวน์โหลดผ่านอินเตอร์เน็ตได้ ก็อปปี้ไปใช้งานระหว่างเครื่องได้
โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction)
ลักษณะโครงสร้างของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์จะมีความคล้ายคลึงกับหนังสือ ทั่วไปที่พิมพ์ด้วยกระดาษ หากจะมีความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนก็คือกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ่านหนังสือสรุปโครงสร้างทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย
• หน้าปก (Front Cover)
• คำนำ (Introduction)
• สารบัญ (Contents)
• สาระของหนังสือแต่ละหน้า (Pages Contents)
• อ้างอิง (Reference)
• ดัชนี (Index)
• ปกหลัง (Back Cover)


การเปรียบเทียบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มี 3 ประเภทดังนี้
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่ง (Static Picture Books)
หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่งเป็นการรวบรวมภาพที่เกี่ยวข้องกันเอาไว้ด้วย กันตามแต่จุดประสงค์ใดๆ ก็ตามที่ผู้ผลิตต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ใช้ประกอบการสอน เป็นต้น โมเดลคำนิยามของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่งมีดังภาพประกอบ 3 อันประกอบด้วย ปกหน้า,กลุ่มภาพนิ่ง,และปกหลัง ภาพนิ่งนี้อาจเป็นภาพจากวิดีโอ,ซี ดีรอม หรือจากที่อื่นๆ ก็ได้ ข้อจำกัดอย่างหนึ่งของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่งคือ ขาดโครงสร้างของบท แต่หากจะให้มีก็สามารถทำได้ไม่ยากโดยเก็บรวบรวมภาพที่มีลักษณะแนวเดียวกัน เช่น หัวข้อเกี่ยวกับสัตว์ ซึ่งเป็นบทที่อยู่ตามลำพังไม่ขึ้นกับบทอื่น ใช้รวบรวมสัตว์พวกแมว,หมา,นก และสัตว์อื่นๆ สิ่งสำคัญสำหรับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่ง คือ ต้องมีการควบคุททรงเลือกที่หลากหลายแทนลูกศรในโมเดลของมันซึ่งอาจควบคุม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทั้งเล่มหรือเป็นบางตอนก็ได้
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลื่อนไหว (Moving Picture Book)
หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลื่อนไหวเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนึ่งซึ่ง บรรจุภาพเคลื่อนไหวไว้มากว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวเหล่านี้อาจมาจากคอมพิวเตอร์หรือสื่อจากสื่ออื่น เช่น วิดีโอหรือซีดีรอม ภาพจะมีการนำเสนออย่างไรขึ้นอยู่กับอัตราที่ตั้งไว้ อาจนำเสนออย่างรวดเร็ว, ช้าหรือปกติก็ได้ โมเดลคำนิยามของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลื่อนไหวมีดังภาพประกอบ 4 ภาพ เคลื่อนไหวเป็นการแสดงชุดของภาพที่มีลักษณะคล้ายกันต่อเนื่องกันอย่างรวด เร็ว โมเดลของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดนี้เหมือนกับโมเดลของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่ง โดยจะมีปกหน้าและปกหลัง ตรงกลางจะประกอบด้วยโครงสร้างของบทที่มีลักษณะเหมือนกันดังภาพประกอบ 1 แต่ ละบทจะประกอบด้วย ภาพจำนวยมากซึ่งเรียงลำดับตามหัวข้อหรือเนื้อเรื่อง ถ้าต้องการแบ่งเป็นหมวดหมู่หรือย่อยไปกว่านั้นก็สามารถกำหนดให้เพิ่มขึ้นได้ อีกในโครงสร้าง ความมีการควบคุมทางเลือกที่หลากหลายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลื่อนไหว โดยสามารถเล่น,หยุดดู,ถอยหลัง,ไปหน้าได้ ตามที่ผู้อ่านต้องการด้วย
3.หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย (Multi – Media Books)
หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียประกอบด้วยตัวอักษร เสียงและภาพรวมกัน โครงสร้างหน้าของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียมีดังภาพประกอบ 1 ใน ส่วนที่แรเงาในภาพนำเสนอตัวอักษร เสียง และภาพตามที่ผู้ใช้เลือก ภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียอาจเป็นภาพธรรมดาที่มีเอฟเฟค หรือภาพเคลื่อนไหวก็ได้ ในหนึ่งหน้าจอ จะประกอบไปด้วยหลายๆส่วนดังภาพประกอบ 5 ได้แก่ ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพวิดีโอ กรอบโต้ตอบระหว่างผู้อ่านกับคอมพิวเตอร์ในหน้านี่อาจใส่เสียงด้วย โดยอาจใส่ไว้ในรูปของปุ่มเพื่อให้ผู้เรียนเลือกใช้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หลายๆ ประเภท รวมทั้งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียจะได้รับความสะดวกสลายจากตัวจัดการ ซ้อนทับ (Overlay Manager) หน้าจอทั้งหมดที่ผู้ใช้มองเห็นเกิดจากการรวมตัวของแต่ละหน้าจอทางตรรกะวิทยา (Logical Screen) ที่มีอยู่ โดยแต่ละหน้าจอจะมีภาพพื้นฐานเป็นภาพหลัก ตัวซ้อนทับ 1,2,3 และ 4 จะ ปรากฎขึ้นเอง หรือต้องอาศัยการกดปุ่มช่วยขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบโปรแกรมว่าจะออกแบบไว้อย่าง ไร ตัวจัดการการซ้อนทับมีประโยชน์ต่อการรวบรวม การควบคุมโครงสร้าง และการที่จะเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย จะต้องอาศัยพื้นฐานโมเดลตัวจัดการซ้อนทับ (Overlay Model) ด้วย
ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีดังต่อไปนี้
1.เป็น สื่อที่รวมเอาจุดเด่นของสื่อแบบต่างๆ มารวมอยู่ในสื่อตัวเดียว
2 .ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาวิชาได้เร็วขึ้น
3. ครูสามารถใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการชักจูงผู้เรียนในการอ่าน,การเขียน,การฟังและการพูด
4. มีความสามารถในการออนไลน์ผ่านเครือข่ายและเชื่อมโยงไปสู่โฮมเพจและ เว็บไซต์ต่างๆอีกทั้ง
ยังสามารถอ้างอิงในเชิงวิชาการได้
5. หาก หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตจะทำ ให้การกระจาย
สื่อทำได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขว้าง
6. สนับสนุนการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนห้องสมุดเสมือนและห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์
7. มี ลักษณะไม่ตายตัว สามารถแก้ไขปรับปรุงได้ตลอดเวลา สามารถเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ได้โดยใช้ ไฮเปอร์เท็กซ์
8. การสอนหรืออบรมนอกสถานที่ การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะช่วยให้เกิดความคล่องตัวยิ่งขึ้น
เนื่องจาก สื่อสามารถสร้างเก็บไว้ในแผ่นซีดีได้ไม่ต้องหอบหิ้วสื่อซึ่งมีจำนวนมมาก
9. การพิมพ์ทำได้รวดเร็วกว่าแบบใช้กระดาษ สามารถทำสำเนาได้เท่าที่ต้องการ ประหยัดวัสดุในการ
สร้างสื่ออีกทั้งยังช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกด้วย
10. มี ความทนทาน และสะดวกต่อการเก็บบำรุงรักษา ลดปัญหาการจัดเก็บเอกสาร การจัดเก็บ สามารถ
รักษาหนังสือหายากและต้นฉบับเขียนไม่ให้เสื่อมคุณภาพ
11. ช่วยให้นักวิชาการและนักเขียนสามารถเผยแพร่ผลงานเขียนได้อย่างรวดเร็ว



ข้อจำกัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีดังต่อไปนี้
1.คนไทยส่วนใหญ่ยังคงชินอยู่กับสื่อที่อยู่ในรูปกระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่สมารถใช้งานได้ง่ายเมื่อเทียบกับสื่อ สิ่งพิมพ์
2.หากโปรแกรมสื่อมีขนาดไฟล์ใหญ่มากๆจะทำให้การเปลี่ยนหน้าจอมีความล่าช้า
3.การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพที่ดี ผู้สร้างต้องมีความรู้ และความชำนาญในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการสร้าง สื่อดีพอสมควร
4.ผู้ใช้สื่ออาจจะไม่ใช่ผู้สร้างสื่อฉะนั้นการปรับปรุงสื่อจึงทำได้ยากหากผู้สอนไม่มีความรู้ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5.ใช้เวลาในการออกแบบมาก เพราะต้องใช้ทักษะในการออกแบบเป็นอย่างดีเพื่อให้ได้สื่อที่มีคุณภาพ
แนวโน้มของ E-Book ในอนาคต
สำหรับในประเทศไทย E-Book มีแนวโน้มที่จะได้รับความนิยมมากขึ้นในอนาคต โดยคาดการณ์ว่าในอนาคตจะมีการเติบโตมากขึ้นถึง 50% เพราะเนื่องมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ทำให้การเข้าถึง E-Book สามารถ เข้าถึงได้อย่างสะดวกและรวดเร็วทันต่อความต้องการของผู้ใช้จากทั่ว โลก โดยผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

4. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ

สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ
มัลติมีเดีย คือ การ ใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมซอฟต์แวร์ในการสื่อความหมายโดย
การผสมผสาน สื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก (Graphic) ภาพ เคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น
ถ้าผู้ที่ใช้สื่อมัลติมีเดียสามารถที่จะควบคุมสื่อให้นำเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรียกว่า สื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia) การปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้สามารถจะกระทำได้โดยผ่านทางคีย์บอร์ด (Keyboard) เมาส์ (Mouse) หรือตัวชี้ (Pointer) เป็นต้น การใช้สื่อมัลติมีเดียในลักษณะปฏิสัมพันธ์ก็เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียน รู้หรือทำกิจกรรม รวมถึงดูสื่อต่างๆ ด้วยตนเองได้สื่อต่างๆ ที่นำมารวมไว้ในสื่อมัลติมีเดีย เช่น ภาพ เสียง วีดิทัศน์ จะช่วยให้เกิดความหลากหลายในการใช้คอมพิวเตอร์อันเป็นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในแนวทางใหม่ที่ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์น่าสนใจ และเร้าความสนใจ เพิ่มความสนุกสนานในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น

ข้อดีและข้อจำกัดของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ
1. เป็น ลักษณะการสื่อสารแบบทางเดียว
2. ผู้รับข้อมูลมักจะเป็นกลุ่มย่อย จนถึงกลุ่มใหญ่
3. มีวัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อเน้นความรู้และทัศนคติ เป็นการนำเสนอข้อมูลเพื่อประกอบ
การตัดสินใจ ใช้ได้กับทุกสาขาอาชีพ
4. เน้น โครงสร้างและรูปแบบการให้ข้อมูลเป็นขั้นตอน ไม่เน้นการตรวจสอบความรู้ของ
ผู้รับข้อมูล
5. โปรแกรม ส่วนมากจะควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ หรือผู้นำเสนอ

3.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มประมวลสารานเทศ

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มประมวลสารสนเทศ
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing Theory) หรือทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้อมูล ทฤษฎีนี้ให้ความสนใจกับธรรมชาติของผู้เรียนซึ่งเป็นผู้ที่ active (มี ความตื่นตัวในการเรียน) หรือ การแสดงพฤติกรรมหรือการเรียนรู้จะเกิดจากความ
ต้องการของผู้เรียน ซึ่งการเรียนรู้นั้นเป็นผลเนื่องมาจากปฏิสัมพันธ์สิ่งเร้าที่มาจากสิ่งแวด ล้อมได้แก่ ข้อมูลหรือความรู้ที่ต้องการเรียน กับตัวผู้เรียน
ขั้นตอนการทำงานของสมอง (เปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์)
1. การรับข้อมูล (Input) โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล
2. การเข้ารหัส (Encoding) โดยอาศัยชุดคำสั่งหรือซอฟต์แวร์ (Software)
3. การส่งข้อมูลออก (Output) โดยผ่านทางอุปกรณ์
กระบวนการสมองในการประมวลสารข้างต้น จะได้รับการบริหารควบคุม ซึ่งหากเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์แล้ว ก็คือ โปรแกรมสั่งงาน หรือ “Software” การบริหารควบคุมการประมวลสารของสมองก็คือการที่บุคคลรู้ถึงการคิดของตนและ สามารถควบคุมการคิดของตนให้เป็นไปในทางที่ตนต้องการ การรู้ในลักษณะนี้ใช้ศัพท์ทางวิชาการว่า “Metacognition” หรือ “การรู้คิด” ซึ่งหมายถึงการตระหนักรู้ (Awareness) เกี่ยวกับความรู้และความสามารถของตนเอง และใช้ความเข้าใจในการรู้ดังกล่าวในการจัดการควบคุมกระบวนการคิด การทำงานของตนด้วยกลวิธี (Strategies) ต่าง ๆ อันจะช่วยให้การเรียนรู้และงานที่ทำประสบผลสำเร็จตามที่ต้องการ
องค์ประกอบสำคัญของการรู้คิดที่ใช้ในการบริหารควบคุมกระบวนการประมวล สารสนเทศ ประกอบด้วยแรงจูงใจ ความตั้งใจ และความมุ่งหวังต่างๆ รวมทั้งเทคนิคและกลวิธีต่างๆ บุคคลใช้ในการบริหารควบคุมตนเอง
ความรู้ในเชิงเมตาคอคนิชั่น (การรู้คิด Metacogitive knowledge) ประกอบด้วยความรู้ย่อย ดังนี้
1. ความรู้เกี่ยวกับบุคคล (Person) ประกอบไปด้วยความรู้ความเชื่อเกี่ยวกับความแตกต่างภายในตัวบุคคล (Intra Indivifual Differences) และลักษณะสากลของกระบวนการรู้คิด (Universals of Cognition)
2. ความรู้เกี่ยวกับงาน (Task) ประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับขอบข่ายของงาน ปัจจัยเงื่อนไขของงาน และลักษณะงาน
3. ความรู้เกี่ยวกับกลวิธี (Strategy) ประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับกลวิธีการรู้คิดเฉพาะด้านและโดยรวม และประโยชน์ของกลวิธีนั้นที่มีต่องานแต่ละอย่าง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มประมวลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. การรู้จัก (Recognition) มี ผลต่อการรับรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หากเรารู้จักสิ่งนั้นมาก่อน เราก็มักจะเลือกรับรู้สิ่งนั้น และนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำต่อไป การที่บุคคลจะรู้จักสิ่งใด ก็ย่อมหมายความว่า บุคคลรู้หรือเคยมีประสบการณ์กับสิ่งนั้นมาก่อน
2. ความใส่ใจ (Attention) เป็น องค์ประกอบสำคัญต่อการรับข้อมูลเข้ามาไว้ในความจำระยะสั้น ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอน จึงควรจัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น และนำไปเก็บบันทึกไว้ในความจำระยะสั้นต่อไป
3. ข้อมูลที่ผ่านการรับรู้มาแล้ว จะถูกนำไปเก็บไว้ในความจำระยะสั้น ซึ่งนักจิตวิทยาการศึกษาพบว่า จะคงอยู่เพียง 15-30 วินาทีเท่านั้น ดังนั้น หากต้องการที่จะจำสิ่งนั้นนานกว่านี้ ก็จำเป็นต้องใช้วิธีการต่าง ๆ ช่วย เช่น การท่องซ้ำกันหลาย ๆ ครั้ง หรือการจัดสิ่งที่จำให้เป็นหมวด หมู่ ง่ายแก่การจำ เป็นต้น
4. ถ้าต้องการจะให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใด ๆ ได้เป็นเวลานาน สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส (Encoding) เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การท่องจำซ้ำ ๆ การทบทวน หรือการใช้กระบวน การขยายความคิด (Elaborative Operations Process) ซึ่งได้แก่ การเรียบเรียง ผสมผสาน ขยายความ และการสัมพันธ์ความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
5. ข้อมูล ที่ถูกนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำระยะสั้นหรือระยะยาวแล้ว สามารถเรียกออกมาใช้งานได้โดยผ่าน “Effector” ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นพฤติกรรมทางวาจาหรือการกระทำ (Vocal and Motor Response Generator) ซึ่ง ทำให้บุคคลแสดงความคิดภายในออกเป็นพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้ การที่บุคคลไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เก็บไว้ได้ อาจจะเป็นเพราะไม่สามารถเรียกข้อมูลให้ขึ้นถึงระดับจิตสำนึกได้ (Conscious Level) หรือเกิดการลืมขึ้น
6. กระบวนการต่าง ๆ ของสมองได้รับการควบคุมโดยหน่วยบริหารควบคุมอีกชั้นหนึ่ง (Executive Control Of Information Processing) ซึ่ง เปรียบได้กับโปรแกรมสั่งงาน ซึ่งเป็น “Software” ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้น การที่ผู้เรียนรู้ตัวและรู้จักการบริหารควบคุมกระบวนการคิดของตนก็จะสามารถทำให้บุคคลนั้นสามารถสั่งงานให้สมองกระทำการต่าง ๆ อันจะทำให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้

2.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม หรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ หรือบางครั้งอาจเรียกว่ากลุ่มพุทธินิยม เป็นกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด นัก คิดกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิด จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และความสัมพันธ์ของข้อมูล และการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทำและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความ เข้าใจให้แก่ตนเอง
ทฤษฎีกลุ่มนี้ เกิดขึ้นจากแนวคิดของชอมสกี้ (Chomsky) ที่ไม่เห็น ด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดา ของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ในการมองพฤติกรรมมนุษย์มนุษย์ไว้ว่า เป็นเสมือนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ชอมสกี้เชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจ มนุษย์ไม่ใช่ผ้าขาวที่เมื่อใส่สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็นสีนั้น มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์จิตใจและความรู้สึกภายในที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการออกแบบการเรียนการสอนก็ควรที่จะคํานึงถึงความแตกต่างภายในของ มนุษย์ด้วย

ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญของกลุ่มปัญญานิยม

ลำดับที่ ทฤษฏีการเรียนรู้ นักจิตวิทยาคนสำคัญ
1. ทฤษฏีการเรียนรู้ของกลุ่ม เกสตัลท์ ( Gestalt Theory แมกซ์ เวอร์ไทม์เมอร์ (Max Wertheimer) วุล์ฟแกงค์ โคห์เลอร์ (Wolfgang Kohler) เคิร์ท คอฟฟ์กา (Kurt Koffka)
2. ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman)
3. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intellectual Development Theory) เพียเจต์ (Piaget) และ บรุเนอร์ (Bruner)
4. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learnning) ของ ออซูเบล (Ausubel)
5. ทฤษฎีสนาม (Field Theory เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) (เคยอยู่ในกลุ่มทฤษฎีของเกสตัลท์)
6. ทฤษฎีความยืดหยุ่นทางปัญญา (Cognitive Flexibility Theory)
7. ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Schema Theory) รูเมลฮาร์ทและออโทนี่ (Rumelhart and Ortony)
นอกจากนี้ ทฤษฎีในกลุ่มนี้ยังได้อธิบายว่า การเรียนรู้เป็นผลของกระบวนการคิด ความเข้าใจ การรับรู้สิ่งเร้าที่มากระตุ้น ผสมผสานกับ ประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น ซึ่งการผสมผสานระหว่าง ประสบการณ์ ที่ได้รับในปัจจุบันกับประสบการณ์ในอดีต จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการทางปัญญาเข้ามามีอิทธิพลในการเรียนรู้ด้วย ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนของกลุ่มปัญญานิยมจะเน้นทักษะกระบวนการคิด คือให้ผู้เรียนเรียนรู้ที่ง่ายไปหายาก เรียนรู้จากรูปธรรมไปหานามธรรมตามแนวคิดของกลุ่มเกสตัลท์ แต่การที่ผู้สอนจะนำหลัการทฤษฎีของนักจิตวิทยากลุ่มใดไปใช้กับผู้เรียนค่อย ดูความเหมาะสมของตัวผู้เรียนและบริบทด้วย
การประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1. ในการจัดการเรียนการสอน ควรคำนึงถึงความพร้อม ความสามารถและเวลาที่ผู้เรียนจะเรียนได้ดีที่สุด
2. ผู้เรียนมีระดับของการแสดงออกไม่เท่ากัน ในการจัดการเรียนการสอน ควรให้ทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อผู้เรียนจะได้สามารถตอบสนองตามระดับความสามารถของตน
3. การให้การเสริมแรงในช่วงที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด ช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
4. ช่วยครูให้ทราบว่าผู้เรียนที่มีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดียว แต่มีองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น แรงจูงใจ ทัศนคติ หรืออัตมโนทัศน์ของผู้เรียน และความคาดหวังของครูที่มีต่อผู้เรียน
5. ช่วยครูในการปกครองชั้นเรียน และสร้างบรรยากาศการเรียนรู้

1.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเป็นทฤษฎีที่เน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยอาศัย
แนวคิดที่เกี่ยวข้องของความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulas) และ การตอบสนอง (Response) โดยที่อินทรีย์จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า และการตอบสนองอันนำไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม คือการเรียนรู้ ผู้นำทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่สำคัญ คือ พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ธอร์นไดร์ (Edward Thorndike) และสกินเนอร์ (B.F.Skinner)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมประกอบด้วย 3 ทฤษฎี ดังนี้
1.ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning)
หลักการวางเงื่อนไขของพาฟลอฟที่เกียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน
1.1 ความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งมีความแตกต่างทางด้านอารมณ์ผู้เรียน
ตอบสนองได้ไม่เท่ากัน ครูต้องคำนึงถึงสภาพทางอารมณ์ของผู้เรียนว่าจะสร้างอารมณ์ให้ผู้เรียนตอบสนองด้วยการสนใจที่จะเรียนได้อย่างไร
1.2 การวางเงื่อนไข ซึงเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ โดยปกติผู้สอนสามารถทำให้ผู้เรียนชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียน หรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน
1.3 การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวครู เราอาจช่วยได้โดยป้องกันไม่ให้ครูทำโทษเขา โดยปกติก็มักจะพยายามมิให้เกิดขึ้น หรือทำให้หายไป
1.4 การสรุปความเหมือนและการแยกความแตกต่าง การสรุปความเหมือนนั้นเป็นดาบสองคม คือ อาจเป็นในด้านที่เป็นคุณ และเป็นโทษ
- ด้านที่เป็นคุณนั้น ครูควรส่งเสริมให้มาก นักเรียนมีโอกาสพบ สิ่งเร้าใหม่ ๆ เพื่อจะได้ใช้ความรู้และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ได้กว้างขวางมากขึ้น
- ด้านที่เป็นโทษก็เช่น การที่นักเรียนเกลียดครูสตรีคนใดคนหนึ่งแล้วก็จะเกลียดครูสตรีหมดทุกคน เป็นต้น ถ้าหากนักเรียนเกิดการสรุปความเหมือนในแง่ลบนี้แล้ว ครูจะหาทางลดให้ อันเป็นการสรุป กฎเกณฑ์ที่ผิด ๆ หายไป
2.ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ ของสกินเนอร์
การนำหลักการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ไปใช้ในการเรียนการสอน แนวคิดที่สำคัญประการหนึ่งที่ได้จากทฤษฎีของสกินเนอร์ คือ การตั้งจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม คือจะต้องตั้งจุดมุ่งหมายในรูปของพฤติกรรมที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น ถ้าต้องการฝึกให้ผู้เรียนเป็นบุคคลประเภทสร้างสรรค์ก็จะต้องระบุให้ชัดเจน ว่าบุคคลประเภทดังกล่าวสามารถทำอะไรได้บ้าง หรือถ้าจะสอนให้นักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ก็บอกได้ว่าเขาจะทำอะไรได้ เมื่อเขาเรียนผ่านพ้นไปแล้ว ถ้าครูไม่สามารถตั้งจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมได้ ครูก็ไม่อาจบอกได้ว่าผู้เรียนประสบผลสำเร็จในสิ่งที่มุ่งหวังหรือไม่ และที่สำคัญก็คือครูจะไม่อาจให้การเสริมแรงได้อย่างเหมาะสมเพราะไม่ทราบว่า จะให้การเสริมแรงหลังจากที่ผู้เรียนมีพฤติกรรมเช่นใด
3.ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดด์
ประโยชน์และการนำหลักการทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของ ธอร์นไดด์ ไปใช้ในการเรียนการสอนและ ธอร์นไดด์ มักเน้นอยู่เสมอว่าการสอนในชั้นเรียนต้องกำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน การตั้งจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน หมายถึง การตั้งจุดมุ่งหมายที่สังเกตการตอบสนองได้และครูจะต้อง จัดแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วย ๆ ให้เขาเรียนทีละหน่วย เพื่อที่ผู้เรียนจะได้เกิดความรู้สึกพอใจในผลที่เขาเรียนในแต่ละหน่วยนั้น ธอร์นไดด์ ย้ำว่าการสอนแต่ละหน่วยก็ต้องเริ่มจากสิ่งที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยากเสมอการสร้างแรงจูงใจนับว่าสำคัญมากเพราะจะทำให้ผู้เรียนเกิดความพอใจเมื่อเขา ได้รับสิ่งที่ต้องการหรือรางวัล รางวัลจึงเป็นสิ่งควบคุมพฤติกรรมของผู้เรียน นั่นก็คือในขั้นแรกครูจึงต้องสร้างแรงจูงใจภายนอกให้กับผู้เรียน ครูจะต้องให้ผู้เรียนรู้ผลการกระทำหรือผลการเรียน เพราะการรู้ผลจะทำให้ผู้เรียนทราบว่าการกระทำนั้นถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ดีหรือไม่ดี พอใจหรือไม่พอใจ ถ้าการกระทำนั้นผิดหรือไม่เป็นที่พอใจเขาก็จะได้รับการ แก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง เพื่อที่จะได้รับสิ่งที่เขาพอใจต่อไปนอกจากนี้ในการเรียนการสอน ครูจะต้องสอนในสิ่งที่คล้ายกับโลกแห่งความจริงที่เขาจะออกไปเผชิญให้มากที่สุด เพื่อที่นักเรียนจะได้เกิดการถ่ายโอนการเรียนรู้จากการเรียนในชั้นเรียนไป สู่สังคมภายนอกได้อย่างดี

วันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2553

5. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาด้านวิชาการ

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษาด้านวิชาการ

1.              เทคโนโลยีกับการเรียนการสอน
เทคโนโลยีจะเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน 3 ลักษณะ คือ
1.  การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี (Learning about Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ เรียนรู้จนสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ได้ ทำระบบข้อมูลสารสนเทศเป็น สื่อสารข้อมูลทางไกลผ่าน Email และ Internet ได้ เป็นต้น
                         2.  การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Learning by Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ความรู้  ใหม่ ๆ และฝึกความสามารถ ทักษะบางประการ โดยใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น  ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ทางโทรทัศน์ที่ส่งผ่านดาวเทียม การค้นคว้าเรื่องที่สนใจผ่าน Internet  เป็นต้น
                         3.การเรียนรู้กับเทคโนโลยี (Learning with Technology) ได้แก่การเรียนรู้ด้วยระบบ การสื่อสาร 2 ทาง (Interactive) กับเทคโนโลยี เช่น การฝึกทักษะภาษากับโปรแกรมที่ให้ข้อมูลย้อนกลับถึงความถูกต้อง (Feedback) การฝึกการแก้ปัญหากับสถานการณ์จำลอง (Simulation) เป็นต้น

        2.แนวทางการประยุกต์ใช้ไอซีทีในการเรียนการสอน
                             การประยุกต์ไอซีทีในการเรียนการสอนมีความสำคัญต่อการปฏิรูปการศึกษา นักการ
ศึกษาและผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องจึงต้องร่วมกันวางแผน ในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิรูปการศึกษาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  การออกแบบวางแผนการใช้เทคโนโลยีช่วยการเรียนการสอนให้เป็นส่วนหนึ่งของแผนหลักของโรงเรียนช่วยให้สถานศึกษามีการนำเทคโนโลยีไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นแนวทางในการเพิ่มคุณค่าของเทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้  ดังนี้
1.             การใช้เทคโนโลยีพัฒนากระบวนการทางปัญญากระบวนการทางปัญญา (Intellectual Skills) คือ กระบวนการที่มีองค์ประกอบสำคัญ คือ
(1)       การรับรู้สิ่งเร้า (Stimulus)
(2)       การจำแนกสิ่งเร้าจัดกลุ่มเป็นความคิดรวบยอด (Concept)
(3)       การเชื่อมโยงความคิดรวบยอดเป็นกฎเกณฑ์ หลักการ (Rule) ด้วยวิธีอุปนัย (Inductive)
(4)       การนำกฎเกณฑ์ หลักการไปประยุกต์ใช้ด้วยวิธีนิรนัย (Deductive)
(5)       การสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ ๆ (Generalization)
ระบบคอมพิวเตอร์มีสมรรถนะสูงที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความฉลาดในกระบวนการทางปัญญานี้ โดยครูอาจจัดข้อมูลในเรื่องต่าง ๆ ในวิชาที่สอน  ให้ผู้เรียนฝึกรับรู้ แสวงหาข้อมูล นำมาวิเคราะห์กำหนดเป็นความคิดรวบยอดและใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแสดงแผนผังความคิดรวบยอด (Concept Map) โยงเป็นกฎเกณฑ์ หลักการ ซึ่งผู้สอนสามารถจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนฝึก การนำกฎเกณฑ์ หลักการไปประยุกต์ จนสรุปเป็นองค์ความรู้อย่างมีเหตุผล บันทึกสะสมไว้เป็นคลังความรู้ของผู้เรียนต่อไป
2.             การใช้เทคโนโลยีพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา
การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางหรือถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุดนั้น สามารถออกแบบแผนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีโอกาสทำโครงงานแสวงหาความรู้ตามหลักสูตร หาความรู้ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ หรือเพื่อแก้ปัญหา (Problem-Based Learning) การเรียนรู้ลักษณะนี้จะเริ่มต้นด้วยการกำหนดประเด็นเรื่อง (Theme) ตามมาด้วยการวางแผนกำหนดข้อมูลหรือสาระที่ต้องการ ผู้สออาจจัดบุญชีแสดงแหล่งข้อมูล (Sources) ทั้งจากเอกสารสิ่งพิมพ์ และจาก Electronic Sources เช่น  ชื่อของ Web ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนแสวงหาข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็นคำตอบ สร้างเป็นองค์ความรู้ต่าง ๆ  โดยใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือช่วย และครูช่วยกำกับผลการเรียนรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพที่ต้องการ  ทั้งนี้ครูจะมีบทบาทสำคัญในการช่วยชี้แนะทิศทางของการแสวงหาความรู้หรือแนะนำผู้เรียนให้พัฒนาความรู้ความสามารถเพิ่มขึ้นให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพผลการเรียนรู้             
3.จุดมุ่งหมายของการใช้ไอซีทีในการเรียนการสอน
      การนำคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการเรียนการสอนจำแนกจุดมุ่งหมาย ออกได้ ประการ คือ
        1. เรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต จุดมุ่งหมายการเรียนรู้นี้มีเป้าหมายให้นักเรียนเกิดความรู้ความสามารถพื้นฐานด้านเทคโนโลยี
        2. นำมาใช้เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดการสอนของครู ในหลักสูตรวิชาต่างๆ จุดมุ่งหมายนี้ช่วยให้นักเรียนได้รับข้อมูลข่าวสาร
        3. นำมาใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างชิ้นงานของนักเรียน เป็นการบูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับหลักสูตรและเนื้อหา

  4. การจัดปัจจัยสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้
 ปัจจัยพื้นฐาน คือ การสร้างความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีสรรถนะและจำนวนเพียงพอต่อการใช้งานของผู้เรียน รวมถึงการอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีได้ตลอดเวลา ผู้สอนควรจัดปัจจัยเพิ่มเติม คือ

1.             ครูสร้างโอกาสในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
ปัจจัยที่จะผลักดันให้มีการใช้เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า คือ การที่ครูออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการทำกิจกรรมประกอบการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ต้องใช้กระบวนการแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้งจากการสังเกตในสถานการณ์จริง การทดลอง การค้นคว้าจากสื่อสิ่งพิมพ์ และจากสื่อ Electronic เช่น จาก Web Sites เป็นกิจกรรมที่ต้องมีการทำโครงงานอิสระสนองความสนใจ เป็นกิจกรรมที่ต้องฝึกปฏิบัติจาก Software สำเร็จรูป เป็นกิจกรรมที่ต้องมีการบันทึก วิเคราะห์ข้อมูล และการนำเสนอรายงานด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.             ครู และผู้เรียนจัดทำระบบแหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
                ปัจจัยด้านแหล่งข้อมูลสารสนเทศ (Information Sources) เป็นตัวเสริมที่สำคัญที่ช่วยเพิ่มคุณค่าของระบบเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ครู และผู้เรียนควรช่วยกันแสวงหาแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีเนื้อหาสาระตรงกับหลักสูตร หรือสนองความสนใจของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวบรวมแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่เป็น Software ชื่อของ Web Sites รวมถึงการลงทุนจัดซื้อ Software จากแหล่งจำหน่าย การจ้างให้ผู้เชี่ยวชาญจัดทำ หรือจัดทำพัฒนาขึ้นมาเองโดยครู และนักเรียน
3.             สถานศึกษาจัดศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Learning Resources Center) เป็นตัวชี้วัดสำคัญประการหนึ่งของศักยภาพของสถานศึกษาที่จะส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ของครู และผู้เรียน  ปกติมักนิยมจัดไว้เป็นส่วนหนึ่งของห้องสมุด จนเกิดคำศัพท์ว่าห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) หรือ E – Library  จะมีคุณประโยชน์ในการมีแหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า ในวิทยาการต่าง ๆ ทั้งในลักษณะสื่อสำเร็จ เช่น Software แถบบันทึกวีดิทัศน์ รวมถึง CD – Rom  และ CAI หรือ ชื่อ Web Sites ต่าง ๆ ซึ่งควรจัดทำระบบ Catalog และดัชนี ให้สะดวกต่อการสืบค้น
4.             การบริการของกรมหรือหน่วยงานกลางทางเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
กรมต้นสังกัดหรือหน่วยงานกลางด้านเทคโนโลยีควรส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีของสถานศึกษาด้วยการบริการด้านข้อมูลสารสนเทศ เช่น จัดทำเอกสารรายเดือน รายงาน Software ในท้องตลาด แจ้งชื่อ Web Sites ใหม่ ๆ พร้อมสาระเนื้อหาโดยย่อ จัดทำคลังข้อมูลความรู้ Knowledge Bank เพื่อการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ ผ่านสื่อ Electronic หรือสื่อทางไกลผ่านดาวเทียมเผยแพร่สนองความต้องการ และความสนใจของผู้เรียนเป็นประจำ นอกจากนี้การรวบรวมผลงานของครู และนักเรียนในการจัดกระบวนการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี ที่เรียกว่า Best Practices จะเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับครู และนักเรียนทั่วไปที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอน
5.             กลวิธีการบูรณาการไอซีทีในการเรียนการสอน แบ่งได้เป็น 10 วิธี ดังนี้
       1. ใช้ในการศึกษาค้นคว้า รวบรวมสารสนเทศและการวิเคราะห์เป็นวิธีที่นักเรียนใช้อินเทอร์เน็ตในการรวบรวมประมวลข้อมูลเพื่อตอบคำถาม 
       2. ใช้ในการสนทนากับผู้เชี่ยวชาญเป็นวิธีใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงนักเรียนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา ขยายสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรกับสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน และบูรณาการแหล่งเรียนรู้จากอินเทอร์เน็ตสู้ห้องเรียน
       3. ใช้เว็บเป็นติวเตอร์หรือผู้สอนเป็นวิธีใช้เว็บนำเสนอบทเรียนออนไลน์วิชาต่างๆ
       4. เผยแพร่ผลงานนักเรียนเป็นวิธีนำผลงานนักเรียนเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์โรงเรียนหรือเว็บไซต์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
       5. อภิปราย / กระจายความคิด อีเมล์และเว็บใช้เป็นแหล่งความคิดและสารสนเทศ ความคิดเผยแพร่กระจายผ่านอีเมล์ หรือการจัดให้มีกิจกรรมเพื่อทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นอีกวิธีหนึ่งของการแลกเปลี่ยนความคิด กิจกรรมเพื่อทางอิเล็กทรอนิกส์นี้ใช้ได้กับหลักสูตรทุกหลักสูตร
       6. ร่วมมือในการทำโครงงานด้วยกันโดยใช้ทรัพยากรจากเว็บเป็นวิธีให้นักเรียนร่วมมือทำกิจกรรมโครงงาน ทั้งที่นักเรียนอยู่ต่างที่กันโดยใช้อินเทอร์เน็ตในการเข้าถึงประมวลข้อมูลและติดต่อสื่อสาร ร่วมกันคิดและร่วมกันทำ
       7. ใช้ทรัพยากรมัลติมีเดียจากอินเทอร์เน็ต เป็นวิธีที่นำภาพและเสียง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีโอ ฐานข้อมูล และทรัพยากรบุคคลเพื่อเสริมการเรียนรู้ในหลักสูตร
       8. โลกของการทำงานขึ้นอยู่กับพนักงานที่มีความชำนาญทางเทคนิค จึงจำเป็นต้องเริ่มสร้างทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนี้ให้นักเรียนตั้งแต่ในช่วงที่ยังอยู่ในโรงเรียน
       9. ใช้เทคโนโลยีอย่างมีจุดมุ่งหมายในการปฏิรูปการเรียนรู้เป็นวิธีจัดการเรียนการสอนที่มุ่งสู่การปรับปรุงการเรียนรู้และการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของนักเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือที่นำสู่การเปลี่ยนแปลง
      10. ผสมผสานการเรียนรู้ด้วยโครงงานหรือการเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหาโดยใช้มัลติมีเดียในการเรียนรู้ด้วยโครงงาน นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำโครงงานด้วยกันและได้รับประสบการณ์จากการผสมผสานทักษะระหว่างวิชา ทั้งจากคณิตศาสตร์ ภาษา ศิลปะ ภูมิศาสตร์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเรียนรู้ด้วยโครงงานมีศักยภาพในการเพิ่มความรู้สึกรับผิดชอบ ควบคุมการเรียนรู้ของตนเอง นักเรียนที่ได้รับการกำหนดเป้าหมายของตนเองจะมีส่วนร่วมในการเรียนรู้มากขึ้น